กองกิจการนักศึกษา มหิดล

การดูแลตนเอง (self-care)

การจัดการความเครียด (Stress management)

  • ความเครียด เป็นการตอบสนองต่อร่างกายที่มากระตุ้น มีผลให้ร่างกายเกิดการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา ในลักษณะสู้หรือหนี (Fight or flight) เพื่อรักษาภาวะสมดุล ซึ่งแต่ละคนตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและสิ่งแวดล้อม
  • ปฏิกิริยาเครียดและวิธีการจัดการ

ปฏิกิริยาเครียด

วิธีการจัดการ

ขั้นที่ 1 มีความเครียดต่ำๆ การรับรู้ดี ตื่นตัว มีการแสดงออกทางบวก กระตือรือร้น รักษาระดับความเครียดต่ำไว้ ไม่เพิ่มตัวกระตุ้น หรือสิ่งที่จะทำให้เครียดเพิ่มมากขึ้น พักผ่อนให้เพียงพอและระบายออกอย่างเหมาะสม
ขั้นที่ 2 เริ่มพลังถดถอย เครียด ปวดศีรษะ มีปัญหาเกี่ยวกับการนอน พยายามรู้เท่าทัน เลี่ยงสถานการณ์ที่ทำให้เครียด พูดคุยกับคนรอบข้าง ช่วยเหลือตัวเองเบื้องต้น โดยทำกิจกรรมที่ชอบเพื่อให้อาการเหล่านั้นลดลง หรือใช้เทคนิคการผ่อนคลาย
ขั้นที่ 3 เพิ่มมีปฏิกิริยาตอบสนองที่ไม่เหมาะสม หงุดหงิด วิตกกังวล สมาธิไม่ดี กลัวอะไรที่บอกไม่ได้ เริ่มต่อต้าน สังเกต และพยายามควบคุมอาการ หรือลดอาการลง ถ้าไม่ดีขึ้นควรพบผู้เชี่ยวชาญเพื่อช่วยเหลือต่อไป
ขั้นที่ 4 ฮอร์โมน adrenaline หลั่ง ใจเต้นแรงและเร็ว เหงื่อออกชุ่ม ตัวสั่น อ่อนล้า ในที่สุดควบคุมอารมณ์ไม่ได้ ควรพบผู้เชี่ยวชาญเพื่อประเมิน อาจต้องใช้ยา ควบคู่กับการบำบัดทางจิตใจ หรือฝึกการผ่อนคลายความเครียด
ขั้นที่ 5 หมดความอดทน (burn out) รู้สึกด้อยค่า ขมขื่น ไร้ความสามารถ             มีอาการทางกาย เช่น ปวดท้อง ปวดศีรษะ หอบหืด ใจสั่น เจ็บหน้าแก ความดันโลหิตสูง ท้องผูก ท้องเสีย จำเป็นต้องเข้ารับการรักษา รวมถึงฟื้นฟูสภาพจิตใจ
  • วิธีการจัดการความเครียด

วิธีการ

ตัวอย่าง

ด้านความคิด ปรับเปลี่ยนวิธีคิดใหม่
ด้านอารมณ์ หาคนให้กำลังใจ สนับสนุน เป็นที่ปรึกษา สร้างอารมณ์ขัน
ด้านพฤติกรรม เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เพื่อลดความเครียด เช่น บริหารจัดการเวลาให้ดี
ด้านร่างกาย ออกกำลังกาย กินอาหารที่มีประโยชน์ พักผ่อน ฝึกการผ่อนคลาย นั่งสมาธิ หรือกินยาตามแพทย์สั่ง

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อจำแนกผู้ใช้งานแต่ละคน โดยทำหน้าที่หลักคือประมวลทางสถิติ ตลอดจนลักษณะเฉพาะของกลุ่มผู้ใช้บริการนั้นๆ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะนำมาใช้ในการวิเคราะห์รูปแบบพฤติกรรมของผู้ใช้บริการ และมหาวิทยาลัยจะนำผลลัพธ์ดังกล่าวไปใช้ในการปรับปรุงเว็บไซต์ให้ตอบสนองความต้องการ และการใช้งานของผู้ใช้บริการให้ดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามข้อมูลที่ได้และใช้ประมวลผลนั้นจะไม่มีการระบุชื่อ หรือบ่งบอกความเป็นตัวตนของผู้ใช้บริการแต่อย่างใด อีกทั้งไม่มีการเก็บข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ชื่อ, นามสกุล, อีเมล เป็นต้น และใช้เป็นเพียงข้อมูลทางสถิติเท่านั้น ซึ่งจะช่วยให้มหาวิทยาลัยสามารถมอบประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์สำหรับคุณ และช่วยให้สามารถปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นได้ในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้คุณสามารถเลือกตัวเลือกในการใช้งานคุกกี้ได้

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้ที่จำเป็น คือคุกกี้ที่จำเป็นต้องมีเพื่อให้เว็บไซต์ทำงานได้อย่างถูกต้อง คุกกี้เหล่านี้ช่วยให้มั่นใจถึงฟังก์ชันพื้นฐานและคุณลักษณะด้านความปลอดภัยของเว็บไซต์

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์/เพื่อประสิทธิภาพ คุกกี้เหล่านี้ช่วยให้เราจดจำและนับจำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์และทราบว่าผู้เข้าชมไปยังหน้าต่างๆ ในเว็บไซต์อย่างไร สิ่งนี้จะช่วยให้เราปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ให้ดียิ่งขึ้นได้ในอนาคต ตัวอย่างเช่น ทำให้ผู้ใช้งานพบสิ่งที่ต้องการเข้าถึงได้ง่ายขึ้น

Save