โครงการ ‘Mahidol TED Youth Startup 2024’
16/10/2023
THE APPLICATION IS NOW OPEN for Thai and ASEAN universities students
19/10/2023

ทำกันแค่ไหนถึงเรียก Cyberbullying บูลลี่ เป็นวงจรแบบหนึ่งที่เกิดขึ้นจากบุคคลที่กระทำต่อกัน โดยมี 3 ลักษณะที่เกิดขึ้นได้ คือ

1. ลักษณะของความรุนแรง ไม่ว่าจะทางกายหรือวาจา ที่ไปกระทบจิตใจของอีกฝ่าย ความรุนแรงทางวาจาอาจไม่ชัดเจนเท่ากับความรุนแรงทางกาย เพราะมันขึ้นอยู่กับการรับรู้ของอีกฝ่ายด้วยว่า คำคำนั้นมันรุนแรงอย่างไร เช่น คำพูดเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพภายนอก สถานะทางเศรษฐกิจ ข้อจำกัดหรือสมรรถนะของอีกฝ่าย ถ้าเรื่องนั้นไปกระทบกับความรู้สึกของคนฟัง การกระทำเหล่านี้ล้วนเป็นการบูลลี่ที่ส่งผลต่อความรุนแรง และทำให้คนคนนั้นได้รับผลกระทบทางจิตใจ

2. ลักษณะที่ผู้กระทำตั้งใจหรือเจตนาที่จะทำสิ่งนั้นออกไปให้อีกฝ่ายรู้สึกเจ็บปวด มันมีเส้นตรงกลางของการตีความว่าตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ สิ่งสำคัญคือเราต้องคอยสังเกตว่า อีกฝ่ายมีการตอบสนองกับสิ่งที่เราพูดไปอย่างไร ถ้าเขาแสดงสีหน้าที่ไม่โอเค หรือพูดปฏิเสธออกมา เราก็ควรเข้าใจได้ว่าเขาไม่ชอบ นั่นเป็นการล้ำเส้นเขา ซึ่งถ้าเรายังทำแบบเดิมซ้ำๆ นั่นคือการบูลลี่

3. ลักษณะที่มีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งแสดงอำนาจที่เหนือกว่า อาจจะเป็นการใช้น้ำเสียงที่ดังกว่า ใช้จำนวนคนที่มากกว่า พอเห็นอีกฝ่ายหงอหรือจนมุมยิ่งทำมากขึ้น ลักษณะนี้ก็คือการบูลลี่

อ้างอิง: THE STANDARD PODCAST

ตอบคำถามให้หายคาใจ ทำกันแค่ไหนถึงเรียก Cyberbullying

**********

หากนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล พบเจอการกลั่นแกล้ง รังแก ไม่ว่าจะเป็นการดูถูกเหยียดหยาม ใส่ร้ายป้ายสี ละเมิดสิทธิต่าง ๆ ของผู้อื่น จนทำให้ผู้อื่นรู้สึกหวาดกลัว อับอาย… สามารถร้องเรียนได้ตามช่องทาง ดังนี้

กองกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล Facebook: https://www.facebook.com/MUOPSA

โทร 02-849-4527

สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล Facebook: https://www.facebook.com/ilikemusa

สภานักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล Facebook: https://www.facebook.com/stucon.mahidol

IG : https://www.instagram.com/stucon.mahidol

We Mahidol Application Tile: รายงานเหตุการณ์

เราจะเป็นอีกช่องทางหนึ่งเพื่อคอยรับฟังและช่วยน้อง ๆ เสมอ  #stopcyberbullying

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อจำแนกผู้ใช้งานแต่ละคน โดยทำหน้าที่หลักคือประมวลทางสถิติ ตลอดจนลักษณะเฉพาะของกลุ่มผู้ใช้บริการนั้นๆ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะนำมาใช้ในการวิเคราะห์รูปแบบพฤติกรรมของผู้ใช้บริการ และมหาวิทยาลัยจะนำผลลัพธ์ดังกล่าวไปใช้ในการปรับปรุงเว็บไซต์ให้ตอบสนองความต้องการ และการใช้งานของผู้ใช้บริการให้ดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามข้อมูลที่ได้และใช้ประมวลผลนั้นจะไม่มีการระบุชื่อ หรือบ่งบอกความเป็นตัวตนของผู้ใช้บริการแต่อย่างใด อีกทั้งไม่มีการเก็บข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ชื่อ, นามสกุล, อีเมล เป็นต้น และใช้เป็นเพียงข้อมูลทางสถิติเท่านั้น ซึ่งจะช่วยให้มหาวิทยาลัยสามารถมอบประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์สำหรับคุณ และช่วยให้สามารถปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นได้ในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้คุณสามารถเลือกตัวเลือกในการใช้งานคุกกี้ได้

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้ที่จำเป็น คือคุกกี้ที่จำเป็นต้องมีเพื่อให้เว็บไซต์ทำงานได้อย่างถูกต้อง คุกกี้เหล่านี้ช่วยให้มั่นใจถึงฟังก์ชันพื้นฐานและคุณลักษณะด้านความปลอดภัยของเว็บไซต์

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์/เพื่อประสิทธิภาพ คุกกี้เหล่านี้ช่วยให้เราจดจำและนับจำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์และทราบว่าผู้เข้าชมไปยังหน้าต่างๆ ในเว็บไซต์อย่างไร สิ่งนี้จะช่วยให้เราปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ให้ดียิ่งขึ้นได้ในอนาคต ตัวอย่างเช่น ทำให้ผู้ใช้งานพบสิ่งที่ต้องการเข้าถึงได้ง่ายขึ้น

Save