เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “โครงการติดอาวุธให้นักวิจัยรุ่นใหม่ ผ่าน Multi Mentoring System” รุ่นที่ 5

การอบรมเชิงปฏิบัติการ “โครงการติดอาวุธให้นักวิจัยรุ่นใหม่ ผ่าน Multi Mentoring System” รุ่นที่ 5
วันที่ 1 – 3 กันยายน 2563 ณ ห้องกันภัยมหิดล ศูนย์ประชุมและอาคารจอดรถมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา

วันอังคารที่ 1 กันยายน 2563

เวลา หัวข้อ วิทยากร
9.00 – 10.00 น. การเสวนาหัวข้อ “ทำอย่างไรงานวิจัย “ไม่” ขึ้นหิ้ง: การพัฒนานวัตกรรม และการนำไปใช้เชิงพาณิชย์ สังคม และชุมชน” ศ. เกียรติคุณ ดร.วันเพ็ญ ชัยคำภา มหาวิทยาลัยมหิดล
รศ. ดร.ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์ มหาวิทยาลัยมหิดล
รศ. ดร.นิทัศน์ สุขรุ่ง มหาวิทยาลัยมหิดล
10.00 – 11.00 น. การบรรยายหัวข้อ “จริยธรรมการวิจัยในยุคประเทศไทย 4.0” รศ. ดร. นพ.พงศกร ตันติลีปิกร ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล   
11.00 – 12.00 น. การเสวนาหัวข้อ “นักวิจัยพี่เลี้ยง: เข็มทิศนำทางชีวิตนักวิจัย” ศ. เกียรติคุณ ดร.นทีทิพย์ กฤษณามระ มหาวิทยาลัยมหิดล
ศ. ดร.เพทาย เย็นจิตโสมนัส มหาวิทยาลัยมหิดล
ศ. ดร.ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
13.00 – 14.00 น. การบรรยายหัวข้อ “Research to Innovation” ศ. ดร. นพ.ภัทรชัย กีรติสิน ผู้อำนวยการสถาบันบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยมหิดล
14.00 – 15.00 น. การบรรยายหัวข้อ “เทคนิคการเขียนรายงานความก้าวหน้า/รายงานฉบับสมบูรณ์” ศ. ดร. นพ.นรัตถพล เจริญพันธุ์ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล   
15.10 – 16.15 น. การบรรยายหัวข้อ “How to Write a Good Review Article” Prof. Duncan R. Smith, Ph.D. มหาวิทยาลัยมหิดล

วันพุธที่ 2 กันยายน 2563

เวลา หัวข้อ วิทยากร
9.00 – 9.30 น. การบรรยายหัวข้อ “ความสำคัญของ University Ranking และบทบาทของนักวิจัยรุ่นใหม่” ศ. นพ.บรรจง มไหสวริยะ อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
9.30 – 10.00 น. การบรรยายหัวข้อ “ความก้าวหน้าของอาจารย์ และนักวิจัย ในมหาวิทยาลัย” ศ. นพ.วชิร คชการ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
10.00 – 11.00 น. การบรรยายหัวข้อ “นโยบายและทุนเพื่อสนับสนุนนักวิจัยรุ่นใหม่” ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง รองผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
11.00 – 12.00 น. การบรรยายหัวข้อ “การทำงานวิจัยร่วมกับภาคเอกชนอย่างมืออาชีพ” ดร.วรรณพ วิเศษสงวน รองผู้อำนวยการด้านวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพเพื่ออุตสาหกรรม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
13.00 – 14.30 น. การเสวนาหัวข้อ “ทิศทางการสร้างงานวิจัยแบบบูรณาการให้ตอบโจทย์ประเทศ และการสร้างเครือข่ายวิจัยระดับนานาชาติ” รศ. ดร.รัศมี ชูทรงเดช มหาวิทยาลัยศิลปากร
รศ. ดร.โธมัส กวาดามูซ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
14.45 – 16.15 น. การอบรมเชิงปฏิบัติการ “เทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการอย่างไรให้ได้รับทุน: วิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ และนำผลงานไปใช้ประโยชน์” Section 1 : ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
รศ. ดร. นสพ.กำลัง ชุมพลบัญชร ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตกาญจนบุรี มหาวิทยาลัยมหิดล SLIDE 1 | SLIDE 2 | SLIDE 3
Section 2 : ด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปกรรม
รศ.ดร.โธมัส กวาดามูซ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

วันพฤหัสบดีที่ 3 กันยายน 2563

เวลา หัวข้อ วิทยากร
9.00 – 10.00 น. การบรรยายหัวข้อ “การขอและสืบค้นทรัพย์สินทางปัญญา และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง” คุณพิเชษฐ์ ธนพงศ์จงรวย มหาวิทยาลัยมหิดล
10.00 – 11.00 น. การบรรยายหัวข้อ “การทำวิจัยกลุ่มผู้ใช้งาน (Research User) อย่างมีชั้นเชิง” ศ. ดร.อรอนงค์ นัยวิกุล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
11.00 – 12.00 น. การบรรยายหัวข้อ “การบริหารจัดการทุนวิจัยอย่างมืออาชีพ” รศ. ดร.คมกฤต เล็กสกุล รองผู้อำนวยการฝ่ายภารกิจการจัดสรรงบประมาณ สกสว.
13.00 – 14.30 น. การเสวนาพิเศษหัวข้อ “ระบบนักวิจัยที่ปรึกษาสำหรับนักวิจัยรุ่นใหม่: ความสำคัญของกลุ่มวิจัย Multi – Generation Researcher” ศ. ดร.ประมวล ตั้งบริบูรณ์รัตน์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ศ. ดร.สุทธิชัย อัสสะบารุงรัตน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
14.45 – 16.15 น. การอบรมเชิงปฏิบัติการ “เทคนิคการเขียนบทความวิจัย/บทความวิชาการ” Section 1 : ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
ศ. ดร.นวดล เหล่าศิริพจน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Section 2 : ด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปกรรม
ศ. กิตติคุณ ดร.อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อทำให้คุณมีประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ โปรดคลิก "ยอมรับ" หรือสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

นโยบายความเป็นส่วนตัว เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยมหิดลใช้คุกกี้เพื่อจำแนกผู้ใช้งานแต่ละคน โดยทำหน้าที่หลักคือประมวลทางสถิติ ตลอดจนลักษณะเฉพาะของกลุ่มผู้ใช้บริการนั้นๆ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะนำมาใช้ในการวิเคราะห์รูปแบบพฤติกรรมของผู้ใช้บริการ และมหาวิทยาลัยจะนำผลลัพธ์ดังกล่าวไปใช้ในการปรับปรุงเว็บไซต์ให้ตอบสนองความต้องการ และการใช้งานของผู้ใช้บริการให้ดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามข้อมูลที่ได้และใช้ประมวลผลนั้นจะไม่มีการระบุชื่อ หรือบ่งบอกความเป็นตัวตนของผู้ใช้บริการแต่อย่างใด อีกทั้งไม่มีการเก็บข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ชื่อ, นามสกุล, อีเมล เป็นต้น และใช้เป็นเพียงข้อมูลทางสถิติเท่านั้น ซึ่งจะช่วยให้มหาวิทยาลัยสามารถมอบประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์สำหรับคุณ และช่วยให้สามารถปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นได้ในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้คุณสามารถเลือกตัวเลือกในการใช้งานคุกกี้ได้

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save