ทุนสนับสนุนการวิจัยจากเงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล
ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่
ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโอกาสให้นักวิจัยรุ่นใหม่ ริเริ่มทำวิจัยให้มีผลงานวิจัยเบื้องต้น เพื่อพัฒนาทักษะและความสามารถในการวิจัยให้มีศักยภาพสูงขึ้น และสามารถขอทุนสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายนอกต่อไปได้
• ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่ พ.ศ. 2563
กำหนดการรับสมัคร : ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์, 30 มิถุนายน และ 31 ตุลาคม ของทุกปี
แบบเสนอขอทุนอุดหนุนการวิจัย มหาวิทยาลัยมหิดล
• ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่ (แบบ MU: 01)
• Research Grant Application Form, Mahidol University (Form MU : 01)
แบบตรวจสอบเอกสารประกอบการขอทุนจากเงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล
• ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่
ทุนส่งเสริมพัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม
ทุนส่งเสริมพัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการ มีผลงานวิจัย องค์ความรู้ใหม่ และนวัตกรรมที่มีคุณภาพสูง เป็นที่ยอมรัยในระดับสากล และเป็นที่ต้องการของสังคม สร้างชื่อเสียงในระดับโลก
• ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง ทุนส่งเสริมพัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562
• ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง ทุนส่งเสริมพัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2562
กำหนดการรับสมัคร : เปิดรับสมัครตลอดปี
แบบเสนอขอทุนอุดหนุนการวิจัย มหาวิทยาลัยมหิดล
• ทุนสนับสนุนกลุ่มวิจัย (Research Cluster) แบบบูรณาการและสหสาขา (Integrated and Multidisciplinary) (แบบ MU: 01-1)
• ทุนสนับสนุนกลุ่มวิจัย (Research Cluster) แบบนักวิจัยหลายรุ่น (Multi – generation Researchers) (แบบ MU: 01-2)
• ทุนสนับสนุนกลุ่มวิจัยแบบบูรณาการ ในพื้นที่ภาคกลาง และกับวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยมหิดล (กาญจนบุรี นครสวรรค์ หรือ อำนาจเจริญ) (แบบ MU: 01-3)
แบบตรวจสอบเอกสารประกอบการขอทุนจากเงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล
• ทุนสนับสนุนกลุ่มวิจัย (Research Cluster) แบบบูรณาการและสหสาขา (Integrated and Multidisciplinary)
• ทุนสนับสนุนกลุ่มวิจัย (Research Cluster) แบบนักวิจัยหลายรุ่น (Multi – generation Researchers)
• ทุนสนับสนุนกลุ่มวิจัยแบบบูรณาการ ในพื้นที่ภาคกลาง และกับวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยมหิดล (กาญจนบุรี นครสวรรค์ หรือ อำนาจเจริญ)
• ทุนสนับสนุนนักวิจัยหลังปริญญาเอก
ทุนวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ (New Discovery) และบุกเบิกศาสตร์แขนงใหม่ (Frontier Research)
ทุนวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ (New Discovery) และบุกเบิกศาสตร์แขนงใหม่ (Frontier Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโอกาสให้บุคลากรสายวิชาการ คณาจารย์ และนักวิจัย ทำวิจัยที่นำไปสู่การค้นพบองค์ความรู้ที่เป็นเชิงลึก และผลิตผลงานที่มีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการระดับสากล โดยเฉพาะงานวิจัยที่มีลักษณะเป็นการค้นคว้า วิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ (New Discovery) หรือบุกเบิกศาสตร์แขนงใหม่ (Frontier Research)
• ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง ทุนวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ (New Discovery) และบุกเบิกศาสตร์แขนงใหม่ (Frontier Research) พ.ศ. 2562
กำหนดการรับสมัคร : เปิดรับสมัครโครงการวิจัยขอทุน ปีละ 3 รอบ (ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์, 30 มิถุนายน และ 31 ตุลาคม ของทุกปี)
แบบเสนอขอทุนอุดหนุนการวิจัย มหาวิทยาลัยมหิดล
• ทุนวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ (New Discovery) และบุกเบิกศาสตร์แขนงใหม่ (Frontier Research) (แบบ MU: 01-4)
• การตรวจสอบคุณสมบัติ การขอทุนวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ (New Discovery) และบุกเบิกศาสตร์แขนงใหม่ (Frontier Research)
ทุนส่งเสริมพัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม (ประเภทกลุ่มวิจัยขนาดเล็ก) Mahidol University Mini - Research Cluster (MU - MiniRC)
ทุนส่งเสริมพัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม (ประเภทกลุ่มวิจัยขนาดเล็ก) Mahidol University Mini – Research Cluster (MU – MiniRC) มุ่งหวังให้เกิดการพัฒนาต่อเนื่อง จนเป็นกลุ่มวิจัยศักยภาพสูงที่จะขยายเป็นศูนย์วิจัยสหสาขา หรือ Mahidol University – Multidisciplinary Research Center (MU – MRC) ซึ่งช่วยส่งเสริมให้มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาและวิจัยชั้นเลิศระดับโลกตามวิสัยทัศน์
• ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง ทุนส่งเสริมพัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม (ประเภทกลุ่มวิจัยขนาดเล็ก) Mahidol University Mini – Research Cluster (MU – MiniRC) พ.ศ. 2563
แบบเสนอขอทุนอุดหนุนการวิจัย มหาวิทยาลัยมหิดล
• ทุนส่งเสริมพัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม (ประเภทกลุ่มวิจัยขนาดเล็ก) Mahidol University Mini – Research Cluster (MU – MiniRC) (แบบ MU: 01-5)
• การตรวจสอบคุณสมบัติ การขอทุนส่งเสริมพัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม (ประเภทกลุ่มวิจัยขนาดเล็ก) Mahidol University Mini – Research Cluster (MU – MiniRC)
ทุนส่งเสริมความร่วมมือภายใต้เครือข่ายพันธมิตรการวิจัยด้านวิศวกรรมชีวเวชและชีววัสดุ มหาวิทยาลัยมหิดล–มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (MU-KMUTT Biomedical Engineering & Biomaterials Consortium)
ทุนส่งเสริมความร่วมมือภายใต้เครือข่ายพันธมิตรการวิจัยด้านวิศวกรรมชีวเวชและชีววัสดุ มหาวิทยาลัยมหิดล–มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (MU-KMUTT Biomedical Engineering & Biomaterials Consortium)
• ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง ทุนส่งเสริมความร่วมมือภายใต้เครือข่ายพันธมิตรการวิจัยด้านวิศวกรรมชีวเวชและชีววัสดุ มหาวิทยาลัยมหิดล–มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (MU-KMUTT Biomedical Engineering & Biomaterials Research Consortium) พ.ศ. 2564
• ทุนส่งเสริมความร่วมมือภายใต้เครือข่ายพันธมิตรการวิจัยด้านวิศวกรรมชีวเวชและชีววัสดุ มหาวิทยาลัยมหิดล – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (MU – KMUTT Biomedical Engineering & Biomaterials Research Consortium) ประจำปีงบประมาณ 2565
แบบเสนอขอทุนอุดหนุนการวิจัย มหาวิทยาลัยมหิดล
• ทุนส่งเสริมความร่วมมือภายใต้เครือข่ายพันธมิตรการวิจัยด้านวิศวกรรมชีวเวชและชีววัสดุ มหาวิทยาลัยมหิดล–มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (MU-KMUTT Biomedical Engineering & Biomaterials Consortium) (แบบ MU: 01-7)
• แบบฟอร์มตรวจสอบคุณสมบัติการขอทุนส่งเสริมความร่วมมือภายใต้เครือข่ายพันธมิตรการวิจัยด้านวิศวกรรมชีวเวชและชีววัสดุ มหาวิทยาลัยมหิดล–มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (MU-KMUTT Biomedical Engineering & Biomaterials Consortium)
ทุนส่งเสริมการวิจัยโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) - มหาวิทยาลัยมหิดล
ทุนส่งเสริมการวิจัยโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) – มหาวิทยาลัยมหิดล
• ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง ทุนส่งเสริมการวิจัยโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) – มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี 2564
แบบเสนอขอทุนอุดหนุนการวิจัย มหาวิทยาลัยมหิดล
• แบบเสนอทุนส่งเสริมการวิจัยโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) – มหาวิทยาลัยมหิดล (แบบ RSPG-MU: 01)
• การตรวจสอบคุณสมบัติ การขอทุนส่งเสริมการวิจัยโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) – มหาวิทยาลัยมหิดล
การส่งโครงการวิจัยและการส่งรายงานการวิจัย
• การส่งโครงการวิจัย
ผู้ประสงค์สมัครขอรับทุน สามารถส่งโครงการวิจัย ตามแบบ MU : 01 ไปยัง
นางลักขณา ศิริพละ
กองบริหารงานวิจัย สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
999 ถ.พุทธมณฑล สาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
0 2849 6159 0 2849 6247 lakhana.pra@mahidol.ac.th
• การส่งรายงานวิจัย
การส่งรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัย
ให้เสนอรายงานความก้าวหน้าตามแบบรายงานความก้าวหน้า MU : 02 เมื่อครบกำหนด 6 เดือน นับแต่วันที่ได้รับเงินทุนวิจัย จำนวน 4 ชุด ไปยัง นางลักขณา ศิริพละ งานบริหารเงินทุนวิจัย กองบริหารงานวิจัย สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
การส่งรายงานฉบับสมบูรณ์
• รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ตามแบบ MU : 03 จำนวน 5 ชุด
• เอกสารงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ (กรณีผลงานวิจัยได้รับการตีพิมพ์แล้ว) จำนวน 3 ชุด ทั้งนี้ ในเอกสารงานวิจัยข้างต้น ผู้ได้รับทุนต้องระบุในกิตติกรรมประกาศว่า “โครงการวิจัยได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหิดล” หรือ “This research project is supported by Mahidol University”