Workshop : พบเพื่อนใจ
เชื่อมตัวกับใจเข้าด้วยกัน และรับฟัง เสียงจากภายใน ที่เป็นเพื่อนแท้ของตัวเราเอง โดยใช้ “การ์ดใจ” ซึ่งมีข้อความชวนคิด ให้มุมมองต่อชีวิตเป็นเครื่องมือชวนสนทนากลุ่มย่อย และกลุ่มใหญ่ ในบรรยากาศปลอดภัยผ่อนคลาย และเป็นมิตร
Workshop : พบเพื่อนใจ
เชื่อมตัวกับใจเข้าด้วยกัน และรับฟัง เสียงจากภายใน ที่เป็นเพื่อนแท้ของตัวเราเอง โดยใช้ “การ์ดใจ” ซึ่งมีข้อความชวนคิด ให้มุมมองต่อชีวิตเป็นเครื่องมือชวนสนทนากลุ่มย่อย และกลุ่มใหญ่ ในบรรยากาศปลอดภัยผ่อนคลาย และเป็นมิตร
เนื้อหาการเรียนรู้ : กิจกรรม “พบเพื่อนใจ” เป็นกิจกรรมที่ต่อยอดจาก “การ์ดเพื่อนใจ” ซึ่งเป็นเครื่องมือที่หลวงพี่โก๋ (พระจิตร์ จิตฺตสํวโร) จัดทำขึ้น โดยรวบรวมถ้อยคำที่ช่วยให้เกิดการสนทนากับตนเองและเพื่อนที่เข้าร่วมกิจกรรมด้วยกัน กิจกรรมนี้ใช้ “การสนทนา” และ “การ์ดเพื่อนใจ” เป็นเครื่องมือในการดำเนินกิจกรรม ซึ่งมีทั้งการเปิดการ์ด อ่านถ้อยคำในการ์ด สนทนา รวมทั้งแบ่งปันในกลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่เป็นระยะๆ
วิทยากร ครูตุ้ง สุภาภรณ์ พัฒนาศิริ จากธนาคารจิตอาสา
จำนวนผู้เข้าร่วมที่เปิดรับ : 30 – 40 คน
ระยะเวลาในการจัด Workshop (นาที) : 180 นาที (3 ชั่วโมง)
ห้องที่ใช้จัด : ห้อง 323 ~ ห้อง G (14.00-17.00)
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อจำแนกผู้ใช้งานแต่ละคน โดยทำหน้าที่หลักคือประมวลทางสถิติ ตลอดจนลักษณะเฉพาะของกลุ่มผู้ใช้บริการนั้นๆ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะนำมาใช้ในการวิเคราะห์รูปแบบพฤติกรรมของผู้ใช้บริการ และมหาวิทยาลัยจะนำผลลัพธ์ดังกล่าวไปใช้ในการปรับปรุงเว็บไซต์ให้ตอบสนองความต้องการ และการใช้งานของผู้ใช้บริการให้ดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามข้อมูลที่ได้และใช้ประมวลผลนั้นจะไม่มีการระบุชื่อ หรือบ่งบอกความเป็นตัวตนของผู้ใช้บริการแต่อย่างใด อีกทั้งไม่มีการเก็บข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ชื่อ, นามสกุล, อีเมล เป็นต้น และใช้เป็นเพียงข้อมูลทางสถิติเท่านั้น ซึ่งจะช่วยให้มหาวิทยาลัยสามารถมอบประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์สำหรับคุณ และช่วยให้สามารถปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นได้ในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้คุณสามารถเลือกตัวเลือกในการใช้งานคุกกี้ได้
Allow Allคุกกี้ที่จำเป็น คือคุกกี้ที่จำเป็นต้องมีเพื่อให้เว็บไซต์ทำงานได้อย่างถูกต้อง คุกกี้เหล่านี้ช่วยให้มั่นใจถึงฟังก์ชันพื้นฐานและคุณลักษณะด้านความปลอดภัยของเว็บไซต์
คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์/เพื่อประสิทธิภาพ คุกกี้เหล่านี้ช่วยให้เราจดจำและนับจำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์และทราบว่าผู้เข้าชมไปยังหน้าต่างๆ ในเว็บไซต์อย่างไร สิ่งนี้จะช่วยให้เราปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ให้ดียิ่งขึ้นได้ในอนาคต ตัวอย่างเช่น ทำให้ผู้ใช้งานพบสิ่งที่ต้องการเข้าถึงได้ง่ายขึ้น