รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานวิจัย
รางวัลระดับดี
สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
รศ. ดร.คนางค์ คันธมธุรพจน์
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และคณะผู้ร่วมวิจัยจากหน่วยงานภายนอก
ผลงานวิจัยเรื่อง “โครงการแนวทางการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่เหมาะสมกับบริบทการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย” (Stakeholder Analysis to Enhance Public Participation in Environmental Impact Assessment in Thailand’s Economic Development Context)
สาขาการศึกษา
รศ. ดร.วัชรพล วิบูลยศริน
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
ผศ. ดร.อธิป ธรรมวิจิตร
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
ผศ. ดร.กรญาณ์ เตชะวงค์เสถียร
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
ผศ. ดร.ณรงเดช พันธะพุมมี
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
ผลงานวิจัยเรื่อง “การวิจัยและพัฒนาโปรแกรมประยุกต์การเรียนรู้บนอุปกรณ์เคลื่อนที่แบบใช้ภาพเหตุการณ์เป็นฐาน เพื่อพัฒนาสมิทธิภาพทวิภาษาสำหรับผู้เรียนวัยเด็กยุคดิจิทัล” (Research and Development of the Scenario – Based Mobile Learning Application to Develop Dual Language Proficiency for Digital Young Learners)
รางวัลระดับดีมาก
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
รศ. ดร.รสสุคนธ์ แก้วขาว และคณะ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
ผลงานวิจัยเรื่อง “การคัดกรองและทดสอบหาตัวยาต้านมะเร็งที่มีประสิทธิภาพสูงและเป็นพิษต่ำ สำหรับผู้ป่วยมะเร็งจอประสาทตาในเด็ก” (High – throughput Screening of Anticancer Drugs with High Efficacy and Minimal Toxicity for Children with Retinoblastoma)
รางวัลระดับดี
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
ศ. ดร. นพ.ทนงชัย สิริอภิสิทธิ์ และคณะ
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
ผลงานวิจัยเรื่อง “การใช้การเรียนรู้เชิงลึกแบบสามมิติร่วมกับการใช้ข้อมูลตำแหน่งพิกัด ในการแยกส่วนหลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ต้าส่วนช่องท้อง จากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์” (A Retrospective Study of 3D Deep Learning Approach Incorporating Coordinate Information to improve the Segmentation of Pre- and Post-operative Abdominal Aortic Aneurysm)
รศ. ดร.วรพันธ์ คู่สกุลนิรันดร์ และคณะ
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงานวิจัยเรื่อง “การจำลองสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมการเดินของสุนัข ในการแพร่ระบาดและควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในสุนัข” (Simulation of Scene Generator and Dogs Walking Habit in Canine Rabies Epidemic and Control)
รศ. ดร.วรพันธ์ คู่สกุลนิรันดร์ และคณะ
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงานวิจัยเรื่อง “การค้นหาและแสดงข้อมูลโควิด – 19 ในภาพการตรวจเอ็กซ์เรย์ทรวงอก” (COVID – 19 Detection and Heatmap Generation in Chest X – Ray Images)
รางวัลระดับดี
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ศ. ดร.ศุขธิดา อุบล และคณะ
คณะวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาวัคซีนป้องกันโควิด-19 ชนิดพ่นจมูก” (Development of An Intranasal Vaccine Against SARS-CoV-2 Using Mucoadhesive Nanodelivery-Adjuvant System)
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
ศ. ดร. นพ.ทนงชัย สิริอภิสิทธิ์ และคณะ
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
ผลงานวิจัยเรื่อง “การใช้การเรียนรู้เชิงลึกแบบสามมิติในการแยกส่วนไขมันภายในเยื่อหุ้มหัวใจ ในภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ก่อนและหลังฉีดสารทึบรังสี” (A 3D Deep Learning Approach to Epicardial Fat Segmentation in Non-Contrast and Post-Contrast Cardiac CT Images)
รศ. ดร.วรพันธ์ คู่สกุลนิรันดร์ และคณะ
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงานวิจัยเรื่อง “การคาดการณ์ระดับน้ำ จากข้อมูลภาพกล้องวงจรปิดและข้อมูลในอดีตของปริมาณน้ำฝน ปริมาณน้ำฝนสะสม และความสูงของน้ำในแม่น้ำ เพื่อการจัดการภัยพิบัติ” (Water Level Prediction Using Image Data from Surveillance Cameras and History Data of Rainfall, Cumulative Rainfall and River Water Heights for Disaster Management)
รางวัลระดับดีมาก
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
รศ. ดร.พงศกร กาญจนบุษย์ และคณะ
คณะวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “กระบวนการผลิตโซล่าเซลล์ชนิดเพอร์รอฟสไกต์แบบหลายชั้น ทีละชั้นที่ควบคุมได้เป็นครั้งแรกของโลก ที่มีประสิทธิภาพและความทนทานความชื้นสูง” (Layer-by-layer Spray Coating of a Stacked Perovskite Absorber for Perovskite Solarcells with Better Performance and Stability Under a Humid Environment)
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ศ. ดร.มัลลิกา อิ่มวงศ์
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
ผลงานวิจัยเรื่อง “การกำจัดโรคไข้มาลาเรียให้หมดไป ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขแห่งประเทศไทย” (Elimination of Plasmodium Falciparum in Thailand)
รางวัลระดับดี
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
ศ. ดร.ประมวล ตั้งบริบูรณ์รัตน์ และคณะ (ผู้ร่วมวิจัย)
คณะวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาและปรับปรุงสมบัติของอนุภาคแม่เหล็กนาโน และอนุภาคกราฟีนออกไซด์ เพื่อการใช้งานทางด้านสิ่งแวดล้อม และการแพทย์” (Development and Property Enhancement of Magnetic Nanoparticles and Graphene Oxide for Environmental and Medical Applications)
ผศ. ดร.โชติกา เมืองสง และคณะ
โครงการจัดตั้งวิทยาเขตอำนาจเจริญ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ความผันแปรของลมมรสุมฤดูร้อนในทวีปเอเชียสมัยโฮโลซีน: การศึกษาเพื่อสังเคราะห์ข้อมูลที่บันทึกในหินงอกและวงปีไม้ จากประเทศไทยและจีน” (Asian Summer Monsoon Variability During the Holocene: a Synthesis Study on Stalagmites and Tree Rings from Thailand and China)
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ดร. ภญ.สุดจิต ล้วนพิชญ์พงศ์ และคณะ
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
ผลงานวิจัยเรื่อง “การกระตุ้นกระบวนการสร้างเซลล์เมกะคาริโอไซท์ และเกล็ดเลือด จากเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต โดยการยับยั้งกระบวนการโอ-กลุคแนกซิลเลชัน” (Metabolic sensor O – GlcNAcylation Regulates Megakaryopoiesis and Thrombopoiesis through c – Myc Stabilization and Integrin Perturbation)
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
รศ. ดร.รักชาติ ไตรผล และคณะ
คณะวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “การควบคุมพฤติกรรมการเปลี่ยนสีของพอลิไดอะเซทติลีนแอสเซมบลี: อิทธิพลของการจัดเรียงตัวสายโซ่สารเติมแต่ง แอลกอฮอล์ พอลิเมอร์ และตัวทำละลาย” (Control Over Color-transition Behaviors of Polydiacetylene Assemblies: Influences of Chain Organization, Alcoholic and Polymeric Additives, and Solvents)
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
รศ. ดร.วรพันธ์ คู่สกุลนิรันดร์ และคณะ
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงานวิจัยเรื่อง “โครงการการพัฒนาวิธีการระบุเอกลักษณ์เฉพาะตัวของกระบือปลัก ด้วยเทคโนโลยีไบโอเมตริก” (Development of Swamp Buffalo Identification Method Using Biometric Feature)
รางวัลระดับดีมาก
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ศ. ดร.มัลลิกา อิ่มวงศ์ และคณะ
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ภาวะการดื้อยาต้านมาลาเรียทางชีวโมเลกุลในประเทศไทย ในทศวรรษที่ผ่านมา”
รางวัลระดับดี
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ดร. ภญ.สุดจิต ล้วนพิชญ์พงศ์ และคณะ
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
ผลงานวิจัยเรื่อง “การตรวจพบความผิดปกติของการสะสมไขมัน ในเซลล์มะเร็งต่อมน้ำเหลืองแมนเทิลเซลล์ดื้อยา ด้วยเทคโนโลยีแสงซินโครตรอน”
สาขาการศึกษา
รศ. ดร.พัชรินทร์ ปัญจบุรี
สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้
ผศ. ดร.นิวัฒน์ ศรีสวัสดิ์
สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “การส่งเสริมความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน เพื่อยกระดับผลการเรียนรู้มโนมติวิทยาศาสตร์ โดยใช้วิธีการวัดและประเมินผล เพื่อการพัฒนาบูรณาการร่วมกับสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ บนเครือข่ายที่ตอบสนองอย่างจำเพาะต่อผู้เรียนรายบุคคล
รางวัลระดับดี
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
รศ. ดร.รักชาติ ไตรผล
คณะวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “การจัดเรียงตัวและสมบัติทางแสงของอนุพันธ์พอลิไธโอฟีน ในสภาวะแวดล้อมต่าง ๆ”
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ศ. ดร.ลีรา กิตติกูล
คณะสาธารณสุขศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาวิธีเรียลไทม์ อาร์ที – พีซีอาร์ และการตรวจจีโนไทป์ไวรัสโนโร เพื่อเฝ้าระวังโรคกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบเฉียบพลัน จากอาหารและน้ำ”
ศ. ดร.มัลลิกา อิ่มวงศ์
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ค้นพบการติดเชื้อมาลาเรีย Plasmodium cynomolgi จากลิงสู่คนตามธรรมชาติ”
รศ. นพ.ไชยรัตน์ เพิ่มพิกุล
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาการรักษาผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดระดับรุนแรง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเปรียบเทียบระหว่างการบริหารยานอร์อิพิเนฟรินในระยะแรก กับแนวทางการรักษาแบบมาตรฐานเดิม”
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
รศ. ดร.วุฒิชัย เอื้อวิทยาศุภร
คณะวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “วัสดุลูกผสมซิลเซสควิออกเซน: โมเลกุลติดฟังก์ชันเรืองแสงสำหรับตัวรับรู้”
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
รศ. ดร.วรพันธ์ คู่สกุลนิรันดร์
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงานวิจัยเรื่อง “การค้นหาอัตโนมัติของภาวะเบาหวานขึ้นจอตา จากภาพถ่ายจอประสาทตา”
รางวัลระดับดี
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
รศ.ดร.สุวรรณา (กิจผาติ) บุญตานนท์
คณะวิศวกรรมศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “การป้องกันผลกระทบจากสารอันตรายตกค้างของโลจิสติกส์สินค้าเกษตรและอาหารจากการรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) : ระบบเฝ้าระวังและตรวจสอบย้อนกลับยาสัตว์ตกค้างและวัตถุเจือปนอาหารในสินค้ากลุ่มสัตว์น้ำ กลุ่มปศุสัตว์ และผลิตภัณฑ์”
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
ผศ.ดร.วรพันธ์ คู่สกุลนิรันดร์
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงานวิจัยเรื่อง “การระบุอัตลักษณ์และจดจำบุคคล โดยใช้รูปแบบการเดินภายใต้การไม่จำกัดเงื่อนไขและสภาพแวดล้อมของการเดิน”
รางวัลระดับดี
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ศ.ดร.มัลลิกา อิ่มวงศ์ และคณะ
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
ผลงานวิจัยเรื่อง “การแพร่กระจายของเชื้อมาลาเรียชนิดต้านยาอาร์ทิมิซินิน: การสังเกตการณ์ด้านระบาดวิทยาชีวโมเลกุล” (The Spread of Artemisinin – resistant Plasmodium Falciparum in the Greater Mekong Subregion: a Molecular Epidemiology Observational Study)
รางวัลระดับดีมาก
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ศ.ดร.พิมพ์ใจ ใจเย็น (ผู้ร่วมวิจัย)
คณะวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ซีรีน ไฮดรอกซีเมธิลทรานเฟอร์เรส เป้าหมายยาใหม่ สำหรับโรคมาลาเรีย” (Serine Hydroxymethyltransforase as a Novel Drug Target for Malaria)
รางวัลระดับดีเด่น
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
รศ.พญ.วิรงค์รอง เจียรกุล และคณะ
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
ผลงานวิจัยเรื่อง “การเปรียบเทียบ Trimetthoprim-Sulphamethoxazole กับ Trimethoprim-Sulphamethoxazole ร่วมกับ Doxycyclin ในการรักษาโรคเมลิออยโดสิส ในช่วงการกำจัดเชื้อป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ (MERTH): การศึกษาแบบ Multicentre, Double-bline, Non-inferiority, Randonized Controlle” (Trimetthoprim-Sulphamethoxazole versus Trimethoprim-Sulphamethoxazole plus Doxyclycline as Oral Eradicative Treatment for Melioidosis (MERTH): A Multicentre, Double-blind, Non-inferiority, Randomized Controlled Trail)
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
รศ.นพ.วิปร วิประกษิต และคณะ
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
ผลงานวิจัยเรื่อง “การค้นพบโรคโลหิตจางทางพันธุกรรมชนิดใหม่ในโลกจากการกลายพันธุ์ของยีน เคเอลเอฟ 1” (Mutations in Kruppel-like Factor 1 (KLF 1) Case A Novel Form of Transfusion-Deprndent Hereditary Hemolytic Anemia)
รางวัลระดับดีมาก
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
รศ.ดร.วีระชัย สิริพันธ์วราภรณ์
คณะวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “โปรแกรมอินเวอร์ชันสำหรับข้อมูลแมกนีโตเทลลูริกซ์แบบสามมิติด้วยเทคนิคดาต้าสเปซ” (Three-Dimensional Magnetotelluric Inversion: Data-Space Method)
สาขาเศรษฐศาสตร์
รศ.ดร.สุขสรรค์ กันตะบุตร
วิทยาลัยการจัดการ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ชุดวิสัยทัศน์แห่งองค์กร” (Organizational Vision Research)
รางวัลระดับดี
สาขาปรัชญา
ศ.ดร.สมทรง บุรษพัฒน์ และคณะ
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
ผลงานวิจัยเรื่อง “การใช้ภาษา และทัศนคติต่อภาษาและการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์ ของกลุ่มชาติพันธุ์ในภูมิภาคตะวันตกของประเทศไทย” (Language Uses and Attitudes towards Language and Ethnic Tourism of Ethnic Groups in the Western Region of Thailand)
รางวัลระดับดีเยี่ยม
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
รศ.ดร.อภินันท์ อุดมกิจ
สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
ดร.สุพัตรา ตรีรัตน์ตระกูล
สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
ผลงานวิจัยเรื่อง “การกระตุ้นให้แม่พันธุ์กุ้งวางไข่ด้วยอาร์เอ็นเอสายคู่ที่จำเพาะ ต่อยีน GIH”(Induction of Spawning in Shrimp Broodstock by GIH – specific Double stranded RNA)
รางวัลระดับดี
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ศาสตราจารย์ ดร.แพทย์หญิงพัชรีย์ เลิศฤทธิ์ และคณะ
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาชุดการตรวจพิสูจน์บุคคลด้วยดีเอ็นเอแบบ SNP set เพื่อใช้ในตัวอย่างตรวจที่เสื่อมสลาย โดยมีความจำเพาะต่อการตรวจพิสูจน์บุคคลประชากรไทย” (Development of a SNP Set for Human ldentification : a Set with High Powers of Discrimination Which Yields High Genetic Information from Naturally Degraded DNA Samples in the Thai Population)
(ผลงานร่วมกับสถาบันอื่น)
รางวัลระดับดีเยี่ยม
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ผศ.ดร.จำรัส พร้อมมาศ
คณะเทคนิคการแพทย์
ดร.วรรณสิกา เกียรติปฐมชัย
คณะวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาการวินิจฉัยการติดเชื้อวัณโรค ชนิดมัยโคแบคทีเรียม ทูเบอร์คูโลซิส ด้วยดีเอ็นเอเซนเซอร์” (Development of DNA sensor for diagnosis of Mycobacterium tuberculosis)
(ผลงานร่วมกับสถาบันอื่น)
รางวัลระดับดีเด่น
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
รศ.ดร.น.สพ.พงศ์ราม รามสูต
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
ดร.ปานน้ำทิพย์ พิทักษ์สัจจะกุล
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
ผลงานวิจัยเรื่อง “โมโนโคลนอล แอนติบอดี เพื่อวินิจฉัยและรักษาโรคเขตร้อน” (Therapeutic and diagnostic Monoclonal antibodies against Tropical diseases)
(ผลงานร่วมกับสถาบันอื่น)
รางวัลระดับดี
ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์
รศ.พญ.วรรณา ตรีวิทยรัตน์
คณะเทคนิคการแพทย์
ศ.คลินิกเกียรติคุณ นพ.ณรงค์ บุณยะรัตเวช
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
รศ.พิชิต ตรีวิทยรัตน์
คณะเทคนิคการแพทย์
นายกมล โคติวงษา
คณะเทคนิคการแพทย์
ผศ.กังวาฬ ทรัพยอาจิณ
คณะเทคนิคการแพทย์
นางสาวธนธร จงเจริญกมล
คณะเทคนิคการแพทย์
ผลงานเรื่อง “ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อ mBMD และ MCI จากการตรวจกรองโรคกระดูกพรุน”
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
นายแพทย์ ดร.วิชัย เอกทักษิณ
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
ผลงานเรื่อง “การสร้างแผนที่เนื้อเยื่อ ณ ความละเอียดยิ่งยวด เพาะต้นฉบับดิจิตอลให้ได้ความใหญ่หลากขนาดบนเครื่องพิมพ์หน้ายักษ์”
รางวัลระดับดีเยี่ยม
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ศาสตราจารย์ ดร.ปิยะรัตน์ โกวิทตรพงศ์
คณะวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “กลไกของแอมเฟตามีนในการทำลายเซลล์ประสาทก่อให้เกิดสมองเสื่อม”
รางวัลระดับดีเด่น
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนันท์ อังศุธนสมบัติ และคณะ
สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาเชิงโครงสร้างของการเกิดรูรั่วที่ผนังเยื่อหุ้ม โดยโปรตีนฆ่าลูกน้ำยุงจากแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis“
สาขาปรัชญา
ศาสตราจารย์ ดร.สมทรง บุรุษพัฒน์ และคณะ
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
ผลงานวิจัยเรื่อง “การเปรียบเทียบคำลักษณนามในภาษาตระกูลไท – กะได”
สาขาสังคมวิทยา
รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี และคณะ
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “โครงการวิจัยบูรณาการเชิงพื้นที่ เพื่อแก้ปัญหาความยากจนอย่างมีส่วนร่วมในภูมิภาคตะวันตก”
รางวัลระดับดี
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดวงพร คำนูณวัฒน์ และคณะ
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
ผลงานวิจัยเรื่อง “การสื่อสารสุขภาพท้องถิ่น”
รางวัลระดับดี
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.พงศ์ราม รามสูต และคณะ
ผลงานวิจัยเรื่อง “การสร้างสารแอนติเจนและแอนติบอดีที่เฉพาะกับโรคเขตร้อน โดยใช้วิธีการแสดงโปรตีนบนผิวฝาจ”
รางวัลดีเยี่ยม
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
นางวรรณสิกา เกียรติปฐมชัย และคณะ
ผลงานวิจัยเรื่อง “การตรวจหาเชื้อไวรัสก่อโรคทอร่าในกุ้งแบบใหม่ โดยการผนวกเทคนิค LAMP ร่วมกับเทคนิค LFD”
รางวัลชมเชย
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
ศาสตราจารย์ ดร.มนต์ทิพย์ เทียนสุวรรณ
ผลงานวิจัยเรื่อง “การสร้างตัวแบบเชิงสถิติของผู้ป่วยมาลาเรียและผู้ป่วยโรคมะเร็งในประเทศไทย”
รางวัลดีเยี่ยม
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดร.เบญจวรรณ วิวัฒนปฐพี และคณะ
ผลงานวิจัยเรื่อง “การจำลองเชิงคณิตศาสตร์ของการไหลของเลือดในเส้นเลือดสู่หัวใจที่ผ่าตัดบายพาส” (Mathematical Modeling of Blood Flow in the Coronary Artery Bypass Graft)
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
นายแพทย์ปรีดา มาลาสิทธิ์ และคณะ
ผลงานวิจัยเรื่อง “งานวิจัยโรคไข้เลือดออกและไวรัสเด็งกี่” (Dengue Hemorrhagic Fever and Dengue Virus Research)