การพัฒนาหลักสูตรสำหรับการอบรมออนไลน์ ในโครงการ Coding Thailand
October 24, 2019
การพัฒนาแบบจำลองเซลลูลาร์ ออโตมาตา เพื่อศึกษาอัตราการเจริญเติบโตของต้นข้าว และทำนายผลผลิตข้าว ในแปลงนาที่เพาะปลูกด้วยระบบการเพิ่มผลผลิต สำหรับข้าวขาวดอกมะลิ 105
October 24, 2019

Medical Modeling and Simulation to Develop a Stochastic Cellular Automaton Model: Effects of Cell – Mediated Immunity to Eradicate HIV – 1 Infection

Medical Modeling and Simulation to Develop a Stochastic Cellular Automaton Model: Effects of Cell – Mediated Immunity to Eradicate HIV – 1 Infection

สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล

โครงการวิจัย:

Stochastic Cellular Automata Model for HIV – 1 Infection Dynamics

ผลงานวิจัย:

Medical Modeling and Simulation to Develop a Stochastic Cellular Automaton Model: Effects of Cell – Mediated Immunity to Eradicate HIV – 1 Infection

ผู้วิจัย:

ดร.มนต์อมร ปรีชารัตน์

โครงการวิจัยนี้ ทำการศึกษาพลศาสตร์การติดเชื้อภายในบริเวณเนื้อเยื่อน้ำเหลืองของผู้ป่วยไวรัส เอช ไอ วี โดยมุ่งเน้นประเด็นไปที่ปฏิกิริยาการตอบโต้ ระหว่างอนุภาคของไวรัส และระบบภูมิคุ้มกัน ที่พึ่งเซลล์เป็นฐานเป็นหลัก โดยการนำแบบจำลองเชิงเฟ้นสุ่มเซลลูลาร์ ออโตมาตา ซึ่งเป็นทฤษฏีทางคณิตศาสตร์ มาใช้ในการอธิบายพลศาสตร์ของการติดเชื้อ และนำผลจากการจำลองแบบที่ได้ มาเปรียบเทียบกับผลงานวิจัยทางคลินิค ทั้งในแง่มุมพลศาสตร์ของโรคในเชิงปริมาณ และรูปแบบของการติดเชื้อภายในเนื้อเยื่อน้ำเหลือง

ผู้วิจัยหวังว่าผลที่ได้จากการพัฒนาแบบจำลอง จะสามารถเปิดเผยถึงข้อมูล/องค์ความรู้ต่าง ๆ ในด้านพลศาสตร์การติดเชื้อของไวรัส เอช ไอ วี ในเนื้อเยื่อน้ำเหลือง ให้แก่วงการวิจัยมากขึ้น และเป็นจุดกำเนิดให้กับองค์ความรู้ใหม่ ๆ ต่อไปในอนาคตไม่มากก็น้อย

การเผยแพร่ผลงาน:
• Precharattana M, Triampo W. Modeling dynamics of HIV infected cells using stochastic cellular automaton. Physica A: Statistical Mechanics and its Applications. 2014 Aug 1;407:303-11.
• Precharattana M, Nokkeaw A, Triampo W, Triampo D, Lenbury Y. Stochastic cellular automata model and Monte Carlo simulations of CD4+ T cell dynamics with a proposed alternative leukapheresis treatment for HIV/AIDS. Computers in biology and medicine. 2011 Jul 1;41(7):546-58.

การติดต่อ:
ดร.มนต์อมร ปรีชารัตน์
สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อทำให้คุณมีประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ โปรดคลิก "ยอมรับ" หรือสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

นโยบายความเป็นส่วนตัว เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยมหิดลใช้คุกกี้เพื่อจำแนกผู้ใช้งานแต่ละคน โดยทำหน้าที่หลักคือประมวลทางสถิติ ตลอดจนลักษณะเฉพาะของกลุ่มผู้ใช้บริการนั้นๆ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะนำมาใช้ในการวิเคราะห์รูปแบบพฤติกรรมของผู้ใช้บริการ และมหาวิทยาลัยจะนำผลลัพธ์ดังกล่าวไปใช้ในการปรับปรุงเว็บไซต์ให้ตอบสนองความต้องการ และการใช้งานของผู้ใช้บริการให้ดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามข้อมูลที่ได้และใช้ประมวลผลนั้นจะไม่มีการระบุชื่อ หรือบ่งบอกความเป็นตัวตนของผู้ใช้บริการแต่อย่างใด อีกทั้งไม่มีการเก็บข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ชื่อ, นามสกุล, อีเมล เป็นต้น และใช้เป็นเพียงข้อมูลทางสถิติเท่านั้น ซึ่งจะช่วยให้มหาวิทยาลัยสามารถมอบประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์สำหรับคุณ และช่วยให้สามารถปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นได้ในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้คุณสามารถเลือกตัวเลือกในการใช้งานคุกกี้ได้

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save