รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ : รางวัลวิทยานิพนธ์
ระดับดี
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
ดร.เขตภากร ชาครเวท
คณะวิทยาศาสตร์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Prof. Dr.Jeffrey R. Long; University of California Berkeley, สหรัฐอเมริกา)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “ผลของการแลกเปลี่ยนแม่เหล็กทางตรงและอะตอมหนัก ต่อการผ่อนคลายทางแม่เหล็กของแม่เหล็กโมเลกุลเดี่ยวโลหะทรานซิชั่น” (Magnetic Direct Exchange and Heavy Atom Effects on Slow Magnetic Relaxation in Transition Metal SingleMolecule Magnets)
สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
ดร.ธีรพัฒน์ อังศุชวาล
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Dr.Jeremy Kendall; University of Kent, สหราชอาณาจักร)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การอภิบาลขั้นสูงและเอ็นจีโอภิวัตน์ในประเทศไทย: การศึกษาเชิงสำรวจเกี่ยวกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และองค์กรพัฒนาเอกชน (อพช.)” (Metagovernance and NGOisation in Thailand: An Exploratory Study of the Thai Health Promotion Foundation (THPF) and Nongovernmental Organizations (NGOs))
สาขาเศรษฐศาสตร์
ผศ. ดร.สัญญพงศ์ เพชรร่มโพธิ์
คณะวิทยาศาสตร์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Prof. Dr.Ajith Kumar Parlikad; University of Cambridge, สหราชอาณาจักร)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “วิธีการหาค่าที่เหมาะสมที่สุด สำหรับปัญหาที่มีหลายวัตถุประสงค์ เกี่ยวกับการจัดการรายการสินทรัพย์หลากประเภท” (A Pragmatic Approach to Multi – objective Optimization
for Portfolio Asset Management)
สาขาสังคมวิทยา
ดร.ณรงค์ศักดิ์ สุขมา
คณะวิศวกรรมศาสตร์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: รศ. ดร.อดิศร ลีลาสันติธรรม; มหาวิทยาลัยมหิดล)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “กรอบดำเนินงานระบบนิเวศ โดยการมีส่วนร่วมสำหรับธุรกิจน้ำประปาชุมชน” (A Participation – Based Ecosystem Framework for Community Water Supply Business)
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
ดร.อัคร สุประทักษ์
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Prof. Dr.Yike Guo; Imperial College London, สหราชอาณาจักร)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “พัฒนาปัญญาประดิษฐ์สำหรับวิเคราะห์คลื่นสัญญาณจากร่างกายคน” (Learning from Biosignals)
สาขาการศึกษา
ดร.นันทิดา นิลหุต
คณะวิศวกรรมศาสตร์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: รศ. ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์; มหาวิทยาลัยมหิดล)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “ระบบหุ่นยนต์ฝึกหัดการผ่าตัดด้วยภาพเสมือนจริงแบบมีแรงสะท้อนกลับ: ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และการทดสอบระบบ” (Haptic Virtual Reality-based Surgical Training System: Hardware, Software and Testing)
ระดับดีเด่น
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
ดร.ศราวุธ ลาภมณีย์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ศ.เกียรติคุณ ดร.นทีทิพย์ กฤษณามระ)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “ผลของการออกกำลังกายตามความต้องการ และการปรับการทำงานของระบบโมโนเอมีน ในการป้องกันระบบประสาทของหนูเพศผู้ที่ถูกกระตุ้นให้เกิดความเครียด” (Neuroprotective Effects of Voluntary Exercise and Monoaminergic Modulators on Stressed Male Rats)
ระดับดี
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ดร.กิตติรัฐ กลับอำไพ
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ศ.เกียรติคุณ ดร.วันเพ็ญ ชัยคำภา)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การผลิตแอนติบอดีจิ๋ว ซึ่งโมเลกุลถูกสังเคราะห์ให้เหมือนกับโมเลกุลแอนติบอดีของมนุษย์ และแอนติบอดีสายเดี่ยวของมนุษย์ ที่สามารถลบล้างหน้าที่ของโปรตีนเอนเอส 4 บี และเอนเอส 5 เอ ของไวรัสตับอักเสบซี” (Production of Cell Penetrable Humanized-Nanobodies and Human Single Chain Antibodies that Neutralize Hepatitis C Virus NS4B and NS5A Functions)
สาขาสังคมวิทยา
ดร.นภดล เผ่าเสถียรพันธ์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: รศ. ดร.อดิศร ลีลาสันติธรรม; คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การพัฒนาแบบจำลองการประเมินเทคโนโลยีการเดินทางอัจฉริยะ” (The Development of an Intelligent Travel Technology Assessment Model (ITTAM))
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
อ. ดร.มรกต เชิดเกียรติกุล
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Assoc. Prof. Dr.Hoa Khanh Dam; University of Wollongong, เครือรัฐออสเตรเลีย)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การพัฒนารูปแบบจำลองการวิเคราะห์ข้อมูล สำหรับการบริหารจัดการงานโครงการซอฟต์แวร์” (Developing Analytics Models for Software Project Management)
ระดับดีมาก
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
ดร.บังอรศิริ อินตรา
คณะวิทยาศาสตร์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ศ.เกียรติคุณ ดร.วัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด; คณะวิทยาศาสตร์)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การคัดเลือก การบ่งชี้ และการศึกษาคุณลักษณะของสายพันธุ์ และสารทุติยภูมิ จากเชื้อแอคติโนมัยซีท”
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
ดร.ชัยยงค์ รักขิตเวชสกุล
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Assoc. Prof. Dr.Jens Krinke; University College London, สหราชอาณาจักร)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การตรวจวัดความเหมือนของโค้ด และการค้นหาโค้ดโคลน ในข้อมูลโค้ดขนาดใหญ่”
ระดับดี
วิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
ดร.ภรภัทร อัฐมโนลาภ
คณะวิศวกรรมศาสตร์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Prof.Jeff Tza-Huei Wang; Johns Hopkins University, สหรัฐอเมริกา)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การพัฒนากรรมวิธี และระบบบ่งชี้ชนิดของเชื้อแบคทีเรีย และทดสอบความไวของเชื้อแบคทีเรียต่อยาปฏิชีวนะในขั้นตอนเดียว”
สาขาสังคมวิทยา
ดร.เบญจมาศ เป็นบุญ
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: รศ. ดร.อารี จําปากลาย; สถาบันวิจัยประชากรและสังคม)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “ผลกระทบจากการย้ายถิ่นระหว่างประเทศของแรงงานไทย ต่อสุขภาพจิตของครอบครัวในประเทศต้นทาง: สถานการณ์การสูญเสียการดูแล และการส่งต่อภาระการดูแลของครัวเรือนที่มีการย้ายถิ่น ในประเทศไทย”
ระดับดีมาก
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ดร.พิพัฒน์ ผิวงาม
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ศ. ดร.นายแพทย์ ภัทรชัย กีรติสิน; คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบภาวะพาหะของแบคทีเรียดื้อยาหลายขนาน ในทางเดินอาหารของประชากรทั่วไป และกลุ่มผู้ป่วย
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
ศ. ดร. นพ.ทนงชัย สิริอภิสิทธิ์
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: รศ. ดร.วรพันธ์ คู่สกุลนิรันดร์; คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การแบ่งส่วนภาพทางการแพทย์โทนสีเทาแบบสองมิติและสามมิติ ด้วยวิธีการแปรปรวนพื้นที่ค้นหาในบริเวณใกล้เคียง”
ระดับดี
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ดร.ภูชิต โนนจุ้ย
สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Prof. Dr.Alexander Bittner; University of California)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การพัฒนาเทคโนโลยีที่รวดเร็วและแม่นยำ ในการบ่งชี้กลไกการทำงานและค้นหายาปฏิชีวนะตัวใหม่ ด้วยการวิเคราะห์ลักษณะสัณฐานวิทยาของเซลล์แบคทีเรียอย่างเป็นระบบ”
ระดับดี
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
ดร.ธารา เฉลิมทรงศักดิ์
วิทยาลัยนานาชาติ
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Prof.Rana Adhikari; California Institute of Technology, ประเทศสหรัฐอเมริกา)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การวัดความแม่นยำสูง และวิธีการลดความผันผวนจากความร้อนบนกระจก” (High Fidelity Probe and Mitigation of Mirror Thermal Fluctuations)
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ดร.ธีรา ฉันทโรจน์ศิริ
คณะวิทยาศาสตร์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Prof.Christopher Chang; University of California, Berkeley, ประเทศสหรัฐอเมริกา)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การศึกษาผลของการเปลี่ยนแปลงทางอิเล็คทรอนิคส์ของสารประกอบเชิงซ้อนของเหล็ก ซึ่งเป็นแบบจำลองจากเอนไซม์ต่อการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำปฏิกิริยากับสารเคมีโมเลกุลเล็ก” (Electronic Tunings in Biomimetric Iron Complexes for Small Molecule Activation)
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ดร.กรกมล เลิศสุวรรณ
คณะวิทยาศาสตร์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Assoc.Prof.Dr.Robert Sikes; University of Delaware, ประเทศสหรัฐอเมริกา)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การค้นพบโปรตีนฟิบูลินวัน ในฐานะโปรตีนจากเซลล์จากไขกระดูกในชั้นสตอร์มาลของมนุษย์ ชนิดเอชเอสไฟว์ ที่มีฤทธิ์ในการฆ่าเซลล์มะเร็งต่อมลูกหมาก” (Identification of Fibulin – 1 as a Human Bone Marrow Stromal (HS – 5) Derived Factor that Induces Prostate Cancer Cell Death)
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ดร.มัญชุตา แดงกุลวานิช
วิทยาลัยนานาชาติ
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Prof.Carlos Bustamante; University of California, Berkeley, ประเทศสหรัฐอเมริกา)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “กลไกระดับโมเลกุลของปัจจัยที่ควบคุมไดนามิคส์ของอาร์เอ็นเอโพลีเมอเรซทูในการถอดรหัสพันธุกรรม” (Molecular Mechanisms of Factors that Control RNA Polymerase II Transcription Elongation Dynamics)
ระดับดีมาก
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ดร.ภูมิ ชัยรัตน์
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Assoc.Prof.Elizabeth Nolan; Massachusetts Institute of Technology, ประเทศสหรัฐอเมริกา)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การศึกษากลไกการรวมตัวและบทบาทของฮยูแม็นดีเฟ้นซิน 6 ในระบบภูมิคุ้มกันแบบทั่วไป และการประยุกต์ใช้ไซเดอโรฟอร์ ในการกำจัดแบคทีเรียแกรมลบเฉพาะกลุ่ม” (Self – Assembly of Human Defensin 6 and Its Role in Innate Immunity and Siderophore – based Strategies to Target Gram – Negative Bacteria)
ระดับดี
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
ดร.พงศกร กาญจนบุษย์
คณะวิทยาศาสตร์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Prof.Dr.Heinrich Jaeger; The University of Chicago, ประเทศสหรัฐอเมริกา)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การประกอบด้วยตัวเองและกลศาสตร์ระดับนาโน จากฟิล์มบางอิสระของอนุภาคนาโน” (Self – Assembly and Nanomechanics of Freestanding Nanoparticle Thin Films)
ระดับดีมาก
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ดร.รสสุคนธ์ แก้วขาว
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Prof.Dr.John W Haycock; University of Sheffield, สหราชอณาจักร)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “เซลล์ชวานน์และเซลล์ต้นกำเนิดจากเนื้อเยื่อไขมัน สำหรับการซ่อมแซมระบบประสาทส่วนปลาย” (Primary Schwamm Cells and Adipose – Derived Stem Cells for Peripheral Nerve Repair)
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
ดร.จิรายุส เอื้อนรเศรษฐ์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ศ.ดร.วัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด; คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การศึกษาหน้าที่ของ afsA ที่ควบคุมการสร้างสารทุติยภูมิในเชื้อ Strptomyces SJE177 และการค้นพบสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ จากเชื้อ actinomycetes ที่คัดแยกจากดิน” (Role of afsA in Secondary Metabolite regulation of Streptomyces SJE177 and Bioactive Compound Identification from Soil Actinomycetes)
ระดับดี
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
ผศ.ดร.พรอนันต์ เกื้อไข่
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: รศ.ดร.สุดา เรียงโรจน์พิทักษ์; คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การทดสอบศักยภาพของโปรตีน Saposin – Link Protein 2 ในการพัฒนาวัคซีนและวิธีการวินิจฉัยการติดโรคพยาธิใบไม้ตับ Fasciola Gigantica” (Vaccine and Immunodiagnosis Potential of Recombinant Saposin – Like Protein 2 for Fasciolosis by Fasciola Gigantica)
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
ดร.ศุภวงศ์ ทั่วรอบ
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Prof.Dr.C. Lee Giles; Pennsylvania State University, ประเทศสหรัฐอเมริกา)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การสร้างระบบเพื่อคัดเลือก สร้างดัชนี และค้นหาข้อมูลประเภทอัลกอริทึม ในห้องสมุดดิจิตอล” (Information Extraction and Metadata Annotation for Algorithms in Digital Libraries)
รางวัลระดับดีเด่น
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ดร.วัชราภรณ์ ทาหาร
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ศ.ดร.มนัส พรหมโคตร; คณะวิทยาศาตร์)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “หัวข้อที่ 1: การสังเคราะห์แบบอสมมาตรของสารประกอบ เจ็ม-ไดฟลูออโรเมททิลลีนเนทเต็ด ไดไฮดรอกซีพิวโรลิซิดีน และอินโดลิซิดิน หัวข้อที่ 2: การสังเคราะห์แบบอสมมาตรของสารประกอบ เจ็ม-ไดฟลูออโรเมททิลลีนเนทเต็ดลิเนียร์ไตรควิเนน” (PART I: Asymmetric Synthesis of gem-Difluoromethylenated Dihydroxy Pyrrolizidines and Indolizidines PART II: Asymmetric Synthesis of gem-Difluoromethylenated Linear Triquinanes)
รางวัลระดับดีมาก
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
ดร.วรพันธ์ คู่สกุลนิรันดร์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Assoc.Prof.Dr.Jian Zhang; University of New South Wales, เครือรัฐออสเตรเลีย)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การจดจำรูปแบบการเดินของคน เพื่อใช้แยกอัตลักษณ์ตัวบุคคลโดย อัตโนมัติผ่านกล้องวิดีโอหรือกล้องวงจรปิด โดยมีคุณสมบัติที่ทนต่อการเปลี่ยนแปลงของ เงื่อนไขต่าง ๆ ของการเดิน” (Human Gait Recognition under Changes of Walking Conditions)
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
ดร.วันทนีย์ วิริยสิทธาวัฒน์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Prof.Dr.Ozan Tonguz; Carnegie Mellon University, ประเทศสหรัฐอเมริกา)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “กรอบการทำงานสำหรับการสื่อสารที่เชื่อถือได้และมีประสิทธิภาพ ในเครือข่ายการสื่อสารระหว่างยานพาหนะ” (A Framework for Reliable and Efficient Communications in Vehicular Networks)
รางวัลระดับดี
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
ดร.พรทิพย์ แก่งอินทร์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ศ.ดร.ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช; มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การจำลองเชิงตัวเลขของการรักษาโรคมะเร็งในเนื้อเยื่อชีวภาพ โดยใช้ ความร้อนจากพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า” (Numericial Simulation of Thermal Ablation in Biological Tissue by Electromagnetic Energy)
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ดร.ฉลองรัตน์ โนรี
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Assoc.Prof.Dr.James Wilhelm; University of California, San Diego, ประเทศสหรัฐอเมริกา)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การค้นพบโครงสร้างขนาดใหญ่ที่เกิดจากการรวมตัวกันของเอนไซม์และ มีผลในการควบคุมการทางานของเอนไซม์ในยีสต์ Saccharomyces cerevisiae” (Polymerization and Partitioning : a Novel Mechanism for Regulating Metabolic Enzyme Activity in Saccharomyces cerevisiae)
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ดร.ธเนศ กังสมัครศิลป์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Prof.Dr.Jan Kitajewski; Columbia University, ประเทศสหรัฐอเมริกา)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การส่งสัญญาณ Notch ในกระบวนการสร้างเส้นเลือดใหม่ในโรคมะเร็ง” (Notch Signaling in Tumor Angiogenesis)
สาขาเศรษฐศาสตร์
ดร.สุภรักษ์ สุริยันเกียรติแก้ว
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: รศ.ดร.สุขสรรค์ กันตะบุตร; วิทยาลัยการจัดการ)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “งานวิจัยเชิงประจักษ์เกี่ยวกับปัจจัยทางด้านภาวะผู้นำ และการจัดการ องค์กรที่ส่งผลให้เกิดความสำเร็จและความยั่งยืนขององค์กรในกลุ่มธุรกิจเอสเอ็มอีไทย” (Essential Leadership and Management Factors Predicting Performance Outcomes and Organisational Sustainability in Thai SMES: An Empirical Investigation)
รางวัลระดับดีเด่น
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ดร.อลิสา ทับสุวรรณ
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ศ.ดร.สุทัศน์ ฟู่เจริญ; สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “โรคบีตาธาลัสซีเมียฮีโมโกลบินอี : ปัจจัยที่มีผลต่อความรุนแรงของโรค และการรักษาด้วยยีนบำบัดในเซลล์ต้นกำเนิดชนิดเหนี่ยวนำ” (Beta-Thalassemia/HbE: Disease Modifiers and Induced Pluripotent Stem Cell Based Gene Therapy)
รางวัลระดับดี
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ดร.ชูชาติ พันธ์สวัสดิ์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: รศ.ดร.พญ.พรรณเพ็ญ วิริยเวชกุล; คณะเวชศาสตร์เขตร้อน)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การกระตุ้นของทรานสคริปชั่นแฟคเตอร์ : นิวเคลียร์ แฟคเตอร์ แคปปาบีในโรคมาลาเรีย” (Activation of Transcription Factor : Nuclear Factor Kappa B (NF-kB) in Malaria)
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ดร.อภิลักษณ์ วรชาติชีวัน
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ศ.ดร.วีระพงศ์ ปรัชชญาสิทธิกุล; คณะเทคนิคการแพทย์)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การประยุกต์ใช้เหมืองข้อมูล เพื่อการพัฒนาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ และการประเมินภาวะสุขภาพ” (Data Mining for Development of Bioactive Compounds and Assessment of Health Parameters)
สาขาปรัชญา
ดร.สนอง คลังพระศรี
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข; วิทยาลัยดุริยางคศิลป์)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “แคน : ระบบเสียงและทฤษฎีการบรรเลง” (Khaen : Sound System and Theory of Playing)
สาขาเศรษฐศาสตร์
ดร.วิศิษฐ์ พรรณรังษี
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Assoc.Prof.Dr.Roy Kouwenberg; วิทยาลัยการจัดการ)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “ธรรมาภิบาลของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย” (Corporate Governance, Signaling and Violations : A Study of Thai Listed Firms)
รางวัลระดับดีเด่น
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ดร.ดนยา ปโกฏิประภา
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Professor Gregory L. Verdine; Harvard University, สหรัฐอเมริกา)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การศึกษาทางชีววิทยาโครงสร้างและ ชีวเคมีของโปรตีนที่ทาหน้าที่ซ่อมแซมดีเอ็นเอแบบนิวคลีโอไทด์เอ็กซิชั่น” (Structural and Biochemical Studies of Bacterial Nucleotide Excision Repair)
รางวัลระดับดี
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ดร.สรนันทร์ จันทรางศุ
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ศ.ดร.วสันต์ จันทราทิตย์; คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การศึกษาลักษณะทางพันธุกรรม ที่สัมพันธ์กับการเกิดผื่นแพ้อันเนื่องมาจากยาเนวิราปีน ในผู้ป่วยไทยที่ติดเชื้อเอชไอวี โดยวิธีการคัดเลือกยีนส์และวิธีการศึกษาในระดับทั่วจีโนม” (Genetic Association Study of Nevirapine – Induced Skin Rash in Thai HIV – Infected Patients by Candidate Genes and Genome – Wide Approaches)
สาขาเศรษฐศาสตร์
ดร.นพ.ตุลวรรธน์ พัชราภา
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ผศ.ดร.วิชิตา รักธรรม; วิทยาลัยการจัดการ)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การรับความรู้โดยการเรียนรู้จากผู้อื่นในที่ทางาน” (Knowledge Acquisition in the Workplaces by Learning from Others)
รางวัลระดับดีเด่น
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ดร.จีระพงษ์ ทะนงศักดิ์ศรีกุล
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ศ.เกียรติคุณ ดร.วันเพ็ญ ชัยคำภา; คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การผลิตแอนติบอดีเพื่อการรักษาโรคที่มีสาเหตุมาจากอาวุธชีวภาพ”
รางวัลระดับดี
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ดร.ชญาดา สิทธิเดช
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: รศ.ดร.สุนีย์ กอรปศรีเศรษฐ์; คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การวิเคราะห์ระดับโมเลกุลของโปรตีนที่มีความสาคัญต่อการเคลื่อนที่ของเชื้อแบคทีเรีย Burkholderia species โดยอาศัยโปรตีน actin ในเซลล์ร่างกาย”
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
นายแพทย์ ดร.เฉลิมชัย มิตรพันธ์
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Winthrop Professor Steve Wilton; Edith Cowan University, เครือรัฐออสเตรเลีย)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การปรับเปลี่ยนการแสดงออกของยีนโดยใช้ antisense oligomer เพื่อการรักษาโรคกล้ามเนื้อระบบประสาท”
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ดร.อมรรัตน์ นรานันทรัตน์ เจนเซน
คณะวิทยาศาสตร์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Prof.Dr.Valeria Culotta; Johns Hopkins University, สหรัฐอเมริกา)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “ผลกระทบของธาตุเหล็กในไมโตคอนเดรียต่อเอนไซม์ Manganese Superoxide Dismutase”
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ดร.ดวงฤดี ธารรำลึก
สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Prof.Dr.Tom Blundell; University of Cambridge, สหราชอาณาจักร)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “เหตุแห่งการเลือกจับอย่างจำเพาะหรือจับโดยไม่เลือกของตัวยับยั้งเอนไซม์ : กรณีศึกษาจากโปรตีนไคเนสจับกับสตอโรสปอริน”
รางวัลระดับดีเยี่ยม
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ดร.วโรดม เจริญสวรรค์
คณะวิทยาศาสตร์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Prof.Dr.Sarah Teichmann; University of Cambridge)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “วิวัฒนาการของโปรตีนในกลุ่ม Transcription Factors และการแสดงออกทางพันธุกรรม”
รางวัลระดับดีเด่น
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ดร.มานิตย์ นุ้ยนุ่น
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ศ.ดร.สุทัศน์ ฟู่เจริญ; สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “ความสัมพันธ์ของสนิปส์ในจีโนมกับความรุนแรงของโรคเบต้า – ธาลัสซีเมีย”
สาขาปรัชญา
ดร.อภิลักษณ์ เกษมผลกูล
คณะศิลปศาสตร์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ศ.ดร.ศิราพร ณ ถลาง; จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “ตำนานพระศรีอาริย์ในสังคมไทย : การสร้างสรรค์และบทบาท”
รางวัลระดับดี
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
ดร.สุพัตรา ตรีรัตน์ตระกูล
สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: รศ.ดร.อภินันท์ อุดมกิจ)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การศึกษาลักษณะและหน้าที่ของฮอร์โมนยับยั้งการพัฒนาของรังไข่จากกุ้งกุลาดำ”
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
ดร.ธิชากร จิตตาวุฒิโภคา
คณะวิทยาศาสตร์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ศ.ดร.ศกรณ์ มงคลสุข)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การศึกษากลไกการควบคุมสมดุลเหล็กและ Oxidative Stresses ใน Xanthomonas campestris pv. campestris”
สาขาสังคมวิทยา
ผศ.ดร.ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: รศ.ดร.จรรยา เศรษฐบุตร; สถาบันวิจัยประชากรและสังคม)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การตายของเด็กที่ไม่เท่าเทียมกันระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย : กรณีศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ”
สาขาการศึกษา
ดร.กานต์ยุพา จิตติวัฒนา
สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: รศ.ดร.ภิญโญ พานิชพันธ์; คณะวิทยาศาสตร์)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การสร้างสื่อการเรียนรู้ที่มีนวัตกรรมเพื่อเข้าใจมหชีวโมเลกุลดีขึ้น”
รางวัลระดับดีเยี่ยม
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ดร.ดรุณี สู้รักรัมย์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Prof.Dr.Paul Knochel)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การใช้ทองแดง (I) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ให้มีสมรรถนะการเลือกเกิดปฏิกิริยาแบบเรจิโอและสเตอริโอ ในปฏิกิริยาการแทนที่ของสารประเภทแอลลิล และการประยุกต์ใช้ในการสังเคราะห์สารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ”
รางวัลระดับดีเด่น
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ดร.นที เจียรวิริยะไพศาล
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ศ.นพ.สุทัศน์ ฟู่เจริญ)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การรักษาโรคกล้ามเนื้อลีบดูเชนและเบต้าธาลัสซีเมีย โดยการเปลี่ยนแปลงการตัดต่อของยีน”
รางวัลระดับดี
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
ดร.สิทธิชัย เอี่ยมสะอาด
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ศ.ดร.นพ.บุญเสริม วิทยชำนาญกุล)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “บทบาทของไฮโดรไลติกเอนไซม์ในระบบสืบพันธุ์ของหนูเม้าส์และกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon“
สาขาการศึกษา
ดร.สุชัย นพรัตน์แจ่มจำรัส
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ผศ.ดร.รัชภาคย์ จิตต์อารี)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “รูปแบบการสอนใหม่สำหรับหัวข้อแสงสีและการรับรู้สี สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายด้วยเครื่องผสมแสงสี”
รางวัลระดับดีเยี่ยม
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
ดร.ดวงกมล เบ้าวัน
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Prof.Dr.James M. Hill)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ เพื่อศึกษากลศาสตร์ของอนุภาคขนาดนาโนเมตร”
รางวัลระดับดีเด่น
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ดร.จีรัสย์ สุจริตกุล
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: รศ.ดร.พิมพ์ใจ ใจเย็น)
“การศึกษาจลนพลศาสตร์และกลไกปฏิกิริยาเคมีของเอนไซม์ p – Hydroxyphenylacetate 3 – hydroxylase จากเชื้อ Acinetobacter baumannii“
รางวัลระดับดี
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
ดร.พันทิพย์ โตแก้ว
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ศ.ดร.ยงค์วิมล เลณบุรี)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การแก้ปัญหาสมการการพาความร้อนในวัสดุที่มีลักษณะเป็นแผ่นบาง โดยใช้เทคนิคตัวแบบเชิงชั้นอันดับ”
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ดร.วทิพย์ บุณยศรีสวัสดิ์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ศ.ดร.เพทาย เย็นจิตโสมนัส)
วิทยานิพนธ์ เรื่อง “ยีนของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่พบในผู้ป่วยที่อายุน้อย และการเกิดภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดหัวใจในโรคเบาหวาน”
รางวัลดีเยี่ยม
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
ดร.ปนัดดา แสนคำ
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: ศ.ดร.ศกรณ์ มงคลสุข)
วิทยานิพนธ์เรื่อง “การศึกษาคุณสมบัติของยีน SOD ซึ่งเกี่ยวข้องกับการตอบสนองต่อ Oxidative Stress และความสามารถในการก่อให้เกิดปุ่มปมของเชื้อ Agrobacterium Tumefaciens”
รางวัลดีเยี่ยม
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ดร.ชนินทร์ นันทเสนามาตร์
(อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: รศ.ดร.วีระพงศ์ ปรัชชญาสิทธิกุล)
“กระบวนการออกแบบชีวโมเลกุลและพอลิเมอร์ โดยอาศัยวิธีทาง Quantum Chemical และ Machine Learning เพื่อประยุกต์ใช้ทางเคมีและชีววิทยา” (Computer – Aided Molecular Design for Biological and Chemical Applications : Quantum Chemical and Machine Learning Approach)