ชุดสื่อมัลติมีเดีย เพื่อการเรียนรู้ภาษาไทยสำหรับคนหูหนวก
October 24, 2019
ประสบการณ์การจ้างงานคนพิการทางจิตในชุมชน
October 24, 2019

นวัตกรรมสื่อวิทยาศาสตร์ สำหรับผู้เรียนที่พิการทางการได้ยิน

นวัตกรรมสื่อวิทยาศาสตร์ สำหรับผู้เรียนที่พิการทางการได้ยิน

วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล

โครงการวิจัย:

การพัฒนาสื่อการสอน สำหรับผู้เรียนหูหนวกในโรงเรียนโสตศึกษาทั่วประเทศ

ผลงานวิจัย:

นวัตกรรมสื่อวิทยาศาสตร์ สำหรับผู้เรียนที่พิการทางการได้ยิน

ผู้วิจัย:

อาจารย์ ดร.สุธา เหลือลมัย

โครงการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสื่อนวัตกรรม เพื่อการเรียนการสอนของนักเรียนหูหนวกในโรงเรียนโสตศึกษาทั่วประเทศ ใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนาภายใต้ความร่วมมือระหว่างครู – อาจารย์ นักวิชาการ บุคคลากรของโรงเรียนโสต ทั้งผู้ที่มีการได้ยิน และพิการทางการได้ยิน โครงการนี้ได้รับทุนสนุบสนุนจาก บมจ.ธนาคารกรุงไทย
นวัตกรรมสื่อวิทยาศาสตร์สำหรับผู้เรียนที่พิการทางการได้ยิน เป็นผลผลิตส่วนหนึ่งจากโครงการนี้จำนวน 5 สื่อ จากผลผลิตทั้งสิ้นจำนวน 18 สื่อ

การนำไปใช้ประโยชน์: ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนในโรงเรียนโสตศึกษาทั่วประเทศ

การเผยแพร่ผลงาน:
•   เผยแพร่สื่อให้กับโรงเรียนโสตศึกษาทั่วประเทศ
•   จัดเสวนาผู้บริหารโรงเรียนโสตทั่วประเทศ
•   จัดอบรมให้กับตัวแทนครูในโรงเรียนโสตศึกษา
•   นำเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับชาติด้านคนพิการ ครั้งที่ 10

รางวัลที่ได้รับ:
•   รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์เพื่อคนพิการ งานประชุมวิชาการระดับชาติด้านคนพิการ ครั้งที่ 10: การขับเคลื่อนสู่สังคมยั่งยืนเพื่อคนทั้งมวล (จัดโดยกระทรวง พม. ร่วมกับ มจธ.)

การติดต่อ:
อาจารย์ ดร.สุธา เหลือลมัย
วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
08 7508 8770
LINE ID: sutha.rs

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อทำให้คุณมีประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ โปรดคลิก "ยอมรับ" หรือสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

นโยบายความเป็นส่วนตัว เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยมหิดลใช้คุกกี้เพื่อจำแนกผู้ใช้งานแต่ละคน โดยทำหน้าที่หลักคือประมวลทางสถิติ ตลอดจนลักษณะเฉพาะของกลุ่มผู้ใช้บริการนั้นๆ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะนำมาใช้ในการวิเคราะห์รูปแบบพฤติกรรมของผู้ใช้บริการ และมหาวิทยาลัยจะนำผลลัพธ์ดังกล่าวไปใช้ในการปรับปรุงเว็บไซต์ให้ตอบสนองความต้องการ และการใช้งานของผู้ใช้บริการให้ดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามข้อมูลที่ได้และใช้ประมวลผลนั้นจะไม่มีการระบุชื่อ หรือบ่งบอกความเป็นตัวตนของผู้ใช้บริการแต่อย่างใด อีกทั้งไม่มีการเก็บข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ชื่อ, นามสกุล, อีเมล เป็นต้น และใช้เป็นเพียงข้อมูลทางสถิติเท่านั้น ซึ่งจะช่วยให้มหาวิทยาลัยสามารถมอบประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์สำหรับคุณ และช่วยให้สามารถปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นได้ในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้คุณสามารถเลือกตัวเลือกในการใช้งานคุกกี้ได้

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save