โครงการเครือข่ายพันธมิตรการวิจัยด้านวิศวกรรมชีวเวชและชีววัสดุ มหาวิทยาลัยมหิดล – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
(MU – KMUTT Biomedical Engineering & Biomaterials Consortium)

โครงการวิจัยภายใต้ความร่วมมือประจำปีงบประมาณ 2567

ลำดับ ชื่อโครงการ ชื่อนักวิจัย (มม.) ชื่อนักวิจัย (มจธ.) แหล่งทุน
1 การพัฒนาชุดเครื่องมือที่บูรณาการศาสตร์ด้านการเรียนรู้ของเครื่องเพื่อช่วยเร่งในการคิดค้นยาตัวใหม่ที่มีประสิทธิภาพในการต้านไวรัส เพื่อเป็นแนวทางสำหรับการประยุกต์ใช้ในการออกแบบและพัฒนายา รศ. ดร.วัชระ ชุ่มบัวตอง
คณะเทคนิคการแพทย์
ผศ. ดร.กานต์ธิดา กุศลมโน
คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล
2 การประยุกต์ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์เซ็นเซอร์วัดความหนืดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและพัฒนาชุดต้นแบบในการแปรผล CMT เพื่อการวินิจฉัยโรคเต้านมอักเสบแบบไม่แสดงอาการในโคนม รศ. ดร. น.สพ.จิตรกมล ธนศักดิ์
คณะสัตวแพทยศาสตร์
รศ. ดร.ราชวดี ศิลาพันธ์
คณะวิศวกรรมศาสตร์
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล
3 การพัฒนาตัวกรองอากาศจากวัสดุโครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์ (MOFs) และวัสดุโลหะผสมกับ MOFs เพื่อใช้กำจัดหรือยับยั้งจุลินทรีย์ในระบบกรองอากาศ ผศ. ดร.วนิดา คูอมรพัฒนะ
คณะวิศวกรรมศาสตร์
รศ. ดร.ปานจันทร์ ศรีจรูญ
คณะวิศวกรรมศาสตร์
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล
4 การพัฒนาไฮโดรเจลเมมเบรนดักจับฟอสเฟตเพื่อใช้ในเครื่องกรองเลือดขนาดพกพาสำหรับผู้ป่วยหลังรักษาเคมีบำบัด อ. ดร.จตุรวิทย์ พันธกิจเจริญกุล
คณะเทคนิคการแพทย์
ผศ. ดร.ปาริชาต นฤพนธ์จิรกุล
คณะวิศวกรรมศาสตร์
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล
5 การพัฒนาวัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาไบโอซิลิกาจากเถ้าชานอ้อยเพื่อใช้สังเคราะห์ท่อนาโนคาร์บอน ผศ. ดร.วีรวุฒิ ชัยวัฒน์
คณะวิศวกรรมศาสตร์
รศ. ดร.นคร วรสุวรรณรักษ์
บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล

โครงการวิจัยภายใต้ความร่วมมือประจำปีงบประมาณ 2566

ลำดับ ชื่อโครงการ ชื่อนักวิจัย (มม.) ชื่อนักวิจัย (มจธ.) แหล่งทุน
1 ผลของวิธีการทำแห้งแบบพ่นฝอยและแบบแช่เยือกแข็งต่อโครงสร้างระดับจุลภาค สมบัติเชิงหน้าที่ และกิจกรรมทางชีวภาพก่อนและภายหลังการย่อยในสภาวะจำลองระบบการย่อยในทางเดินอาหารของโปรตีนไฮโดรไลเซทจากไข่น้ำ Wolffia globosa อ. ดร.ธีรรัตน์ ลิขิตวัฒนเศรษฐ
คณะวิทยาศาสตร์
รศ. ดร.เสาวคนธ์ วงศาสุลักษณ์
สถาบันพัฒนาและฝึกอบรมโรงงานต้นแบบ
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล
2 การปรับปรุงศักยภาพของแบคเทอริโอซินให้มีประสิทธิภาพยับยั้งเชื้อได้มากสายพันธุ์ของแบคทีเรียก่อโรคที่ดื้อยาปฏิชีวนะ ศ. ดร.ชนันท์ อังศุธนสมบัติ
สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
ผศ. ดร.นุจริน จงรุจา
คณะวิทยาศาสตร์
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล

โครงการวิจัยภายใต้ความร่วมมือประจำปีงบประมาณ 2565

ลำดับ ชื่อโครงการ ชื่อนักวิจัย (มม.) ชื่อนักวิจัย (มจธ.) แหล่งทุน
1 การพัฒนาแบบจำลองปัญญาประดิษฐ์สำหรับแปรผลภาพถ่ายชุดตรวจวินิจฉัยโรคเลปโตสไปโรสิส อ. ดร.สุนทร ตันติถาวรวัฒน์
คณะวิศวกรรมศาสตร์
รศ. ดร.ขวัญชนก พสุวัต
คณะวิศวกรรมศาสตร์
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล
2 การพัฒนาเครื่องมือยืดกระดูกขากรรไกรบนที่ให้แรงต่อเนื่องจากขดลวดนิกเกิลไทเทเนียม ผศ. ดร. ทพญ.รชยา จินตวลากร
คณะทันตแพทยศาสตร์
รศ. ดร.อนรรฆ ขันธะชวนะ
คณะวิศวกรรมศาสตร์
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล
3 การดูดซับของเสียในเครื่องไตเทียมด้วยเม็ดถ่านกัมมันต์ไฮบริดชีวภาพเพื่อนำน้ำยาฟอกเลือดกลับมาใช้ใหม่ ผศ. ดร.วีรวุฒิ ชัยวัฒน์
คณะวิศวกรรมศาสตร์
รศ. ดร.นคร วรสุวรรณรักษ์
บัณฑิตวิทยาลัยร่วม
ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล

โครงการวิจัยภายใต้ความร่วมมือประจำปีงบประมาณ 2564

ลำดับ ชื่อโครงการ ชื่อนักวิจัย (มม.) ชื่อนักวิจัย (มจธ.) แหล่งทุน
1 การทดสอบประสิทธิภาพของ DPP-4 Inhibitor ในการรักษาแผล: ในระดับสัตว์ทดลอง ศ. นพ.พรพรหม เมืองแมน
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
รศ. ดร.ขวัญชนก พสุวัต
คณะวิศวกรรมศาสตร์
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล
2 การพัฒนาสารเติมแต่งในเส้นใยสังเคราะห์ ให้มีประสิทธิภาพในการยับยั้งไวรัส SAR-CoV-2 ด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาทางแสง รศ. ดร.พรสวรรค์ เหลืองวุฒิ
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
ผศ. ดร.สิริลักษณ์ เจียรากร
คณะพลังงานสิ่งแวดล้อมและวัสดุ
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล
3 การพัฒนาเม็ดถ่านกัมมันต์ไฮบริดจากชานอ้อยด้วยวิธีการขึ้นรูปเม็ดแบบหลังและก่อนสังเคราะห์ถ่านกัมมันต์ที่ผ่านกระบวนการ คาร์บอไนเซชันและการกระตุ้นด้วยไอน้ำ ผศ. ดร.วีรวุฒิ ชัยวัฒน์
คณะวิศวกรรมศาสตร์
รศ. ดร.นคร วรสุวรรณรักษ์
บัณฑิตวิทยาลัยร่วม
ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล
4 ก้อนหินที่สามารถกำจัดเชื้อแบคทีเรีย ทำจาก ZnO nanorods สำหรับใช้กำจัดเชื้อในน้ำ รศ. ดร.กิตติทัศน์ สุบรรณจุ้ย
คณะวิทยาศาสตร์
รศ. ดร รุ่งทิวา (พลังสันติกุล) ภู่อาภรณ์
คณะวิศวกรรมศาสตร์
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล
5 การพัฒนาสูตรอาหาร "ถั่วเน่า" โดยใช้หัวเชื้อแบคทีเรียกลุ่ม โปรไบโอติก เพื่อการผลิตอาหารที่มีคุณภาพ และมาตรฐาน พร้อมอุดมด้วยกรดไขมันสายสั้น เพื่อประโยชน์ต่อสุขภาพ ผศ. ดร.พรรัศมิ์ จินตฤทธิ์
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
ผศ. ดร.นุจริน จงรุจจา
คณะวิทยาศาสตร์
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล
6 การวิเคราะห์จีโนมของเชื้อ Burkholderia pseudomallei เพื่อศึกษาระบาดวิทยาเชิงโมเลกุลและการเปลี่ยนแปลงภายในโฮสต์ของเชื้อในผู้ป่วยโรคเมลิออยโดสิส รศ. ดร.นริศรา จันทราทิตย์
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
ดร.กมลชนก ชีวะปรีชา
คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล
7 การพัฒนาพอลิเมอริกนาโนพาร์ทิเคิล สำหรับนำส่งสารสกัดถั่งเช่าสู่มะเร็งเป้าหมาย รศ. ดร.จิรพงศ์ สุขศิริวงพงศ์
คณะเภสัชศาสตร์
ผศ. ดร.ณัฐชัย พงษ์ประเสริฐ
คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล
8 การศึกษาไอโซมอลโตโอลิโกแซ็กคาไรด์เป็นสารพรีไบโอติก ในหนูที่มีสภาวะไขมันเลือดสูงจากการกินอาหาร ผศ. ดร.พัฒนียา ปรางทิพย์
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
ผศ. ดร.รัตติยา แววนุกูล
สถาบันพัฒนาและฝึกอบรมโรงงานต้นแบบ
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล
9 การวิเคราะห์สารออกฤทธิ์สำคัญในดอกไม้ไทยรับประทานได้ ที่มีศักยภาพในทางการค้า และการใช้อุณหภูมิต่ำ เพื่อคงปริมาณสารออกฤทธิ์ในดอกไม้ ดร.อาพันธ์ชนิด เทพอวยพร
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
ผศ. ดร.มัณฑนา บัวหนอง
คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล
10 การพัฒนาแบบจำลองปัญญาประดิษฐ์สำหรับแปลผลภาพถ่ายชุดตรวจวินิจฉัยโรคเลปโตสไปโรสิส ผศ. ดร.สันติ มณีวัชระรังสี
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
ผศ. ดร.วรรัตน์ กระทู้
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยมหิดล
11 โครงเลี้ยงเซลล์จากวัสดุฐานพอลิแลคติกเอซิด เพื่อการสร้างเนื้อเยื่อไขมัน รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช
คณะเทคนิคการแพทย์
ดร.กมลชนก งามขำ
คณะวิศวกรรมศาสตร์
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
12 การขยายขนาดแผ่นเซลล์ผิวหนัง โดยใช้เทคนิค MEEK ศ. นพ.พรพรหม เมืองแมน
ดร.นันทพร นามวิริยะโชติ
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
รศ. ดร.ขวัญชนก พสุวัต
คณะวิศวกรรมศาสตร์
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
13 การพัฒนาเซ็นเซอร์แบบใช้แล้วทิ้ง โดยใช้เทคนิคโวลแทมเมตทรี สำหรับตรวจวัดสีปรุงแต่งปนเปื้อนในเครื่องดื่ม รศ. ดร.กิตติทัศน์ สุบรรณจุ้ย
คณะวิทยาศาสตร์
รศ. ดร.รุ่งทิวา ภู่อาภรณ์
คณะวิศวกรรมศาสตร์
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
14 การพัฒนาไบโอซีเมนต์ จากกลุ่มจุลินทรีย์ที่คัดแยกจากของเหลือทิ้งในอุตสาหกรรมอาหารทะเล ผศ. ดร.ภริณดา ทยานุกูล
นางสาวเมนิสา เนตรแตง
นายกัณฑวีร์ ภูธนาวิวัฒน์
คณะวิทยาศาสตร์
ผศ. ดร.ธิดารัตน์ บุญศรี
คณะวิทยาศาสตร์
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
15 การพัฒนาวัสดุปิดแผลไฮโดรเจลเอ็กโซพอลิแซ็กคาไรด์ ชนิดลีแวนที่บรรจุอนุภาคเงินนาโน ผศ. ดร.พัฒนียา ปรางทิพย์
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
ผศ. ดร.รัตติยา แววนุกูล
สถาบันพัฒนาและฝึกอบรมโรงงานต้นแบบ
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
16 การพัฒนาอนุภาคนาโนจากแก้วชีวภาพ เพื่อการรักษาเซลล์มะเร็งกระดูก ดร. ภญ.ผกาทิพย์ รื่นระเริงศักดิ์
คณะเภสัชศาสตร์
ดร.ปาริชาต นฤพนธ์จิรกุล
คณะวิศวกรรมศาสตร์
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
17 โครงการศึกษาความเป็นไปได้ของการพัฒนาระบบอัตโนมัติครบวงจร สำหรับการผลิตยาฉีดผสมให้ทางหลอดเลือดดำในโรงพยาบาล ผศ. ดร. ภญ.ศิตาพร ยังคง
ภก.อุกฤษฏ์ สิทธิบุศย์
รศ. ภก.สุรกิจ นาฑีสุวรรณ
คณะเภสัชศาสตร์
ดร.ปราการเกียรติ ยังคง
สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
18 การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของ DPP-4 Inhibitor ในการรักษาแผล: ในระดับห้องปฏิบัติการ ศ. นพ.พรพรหม เมืองแมน
ดร.นันทพร นามวิริยะโชติ
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
รศ. ดร.ขวัญชนก พสุวัต
คณะวิศวกรรมศาสตร์
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
19 การสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์อัจฉริยะ ประมวลผลคลื่นสมองในการทำนายพิกัดของวัตถุบนหน้าจอภาพ เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารระหว่างสมองและเครื่องจักร รศ. ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์
คณะวิศวกรรมศาสตร์
ดร.ศิรวัจน์ อิทธิภูริพัฒน์
สถาบันการเรียนรู้
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
20 โครงการพัฒนาต่อยอด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการป้องกันโรคในพื้นที่เชิงรุก โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ผศ. ดร.พิจิตรพงศ์ สุนทรพิพิธ
ผศ. ดร.จุฑาธิป ศีลบุตร
คณะสาธารณสุขศาสตร์
ผศ.ชุดาณัฏฐ์ สุดทองคง
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ
เงินรายได้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี