รางวัลคุณภาพและปริมาณการตีพิมพ์ผลงานวิจัย ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ในรูปแบบเอกสารวิชาการ ของมหาวิทยาลัยมหิดล

รางวัลนักวิจัยที่มีจำนวนผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์สูงสุด

ให้แก่นักวิจัยที่มีจำนวนผลงานวิจัยตีพิมพ์สูงสุด ในปี พ.ศ. 2557 – 2558 (ค.ศ. 2014 – 2015) จากฐานข้อมูล Web of Science และฐานข้อมูล Scopus (ตามความเหมาะสมของสาขาวิชา) โดยพิจารณาผู้สมควรได้รับรางวัลตามช่วงอายุ

ฐานข้อมูล Web of Science


รศ.ดร.ชนินทร์ นันทเสนามาตร์
คณะเทคนิคการแพทย์


รศ.ดร.ชุติมา คูหากาญจน์
คณะวิทยาศาสตร์


รศ.นพ.วิปร วิประกษิต
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล


ศ.พญ.กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล


รศ.ดร.อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

ฐานข้อมูล Scopus


ผศ.ดร.ดรุณี สู้รักรัมย์
คณะวิทยาศาสตร์


ศ.พญ.ศศิโสภิณ เกียรติบูรณกุล
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี


ศ.ดร.ประมวล ตั้งบริบูรณ์รัตน์
คณะวิทยาศาสตร์

รางวัลนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงในวารสาร (Citation) สูงสุด

ให้แก่นักวิจัยที่มีผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงจากฐานข้อมูล Scopus ย้อนหลัง 5 ปี นับจากปีที่ให้รางวัล พ.ศ. 2553 – 2557 (ค.ศ. 2010 – 2014) ในสาขาต่าง ๆ

สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ

ศ.ดร.ภญ.ลีณา สุนทรสุข

ศ.ดร.ภญ.ลีณา สุนทรสุข
คณะเภสัชศาสตร์
ผลงานวิจัย เรื่อง “Recent advances of capillary electrophoresis in pharmaceutical analysis”

สาขาคณิตศาสตร์

ศ.ดร.เบญจวรรณ วิวัฒนปฐพี

ศ.ดร.เบญจวรรณ วิวัฒนปฐพี
คณะวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัย เรื่อง “Positive solutions of eigenvalue problems for a class of fractional differential equations with derivatives”

สาขาวิศวกรรมศาสตร์

ผศ.ดร.ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ

ผศ.ดร.ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ
คณะวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัย เรื่อง “Sensor response formula for sensor based on ZnO nanostructures”

สาขาวิทยาศาสตร์การเกษตรและอาหาร

ผศ.ดร.โสรยา จาตุรงคกุล

ผศ.ดร.โสรยา จาตุรงคกุล
คณะวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัย เรื่อง “Transcriptomic and phenotypic analyses identify coregulated, overlapping regulons among PrfA, CtsR, HrcA, and the alternative sigma factors σ b, σ c, σ h, and σ l in Listeria monocytogenes”

สาขาเศรษฐศาสตร์และการบริหารจัดการทางธุรกิจ

รศ.ดร.ณัฐสิทธิ์ เกิดศรี

รศ.ดร.ณัฐสิทธิ์ เกิดศรี
วิทยาลัยการจัดการ
ผลงานวิจัย เรื่อง “An activity guideline for technology roadmapping implementation”

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผศ.ดร.ธันวดี สุเนตนันท์
ผศ.ดร.ชาญยศ ปลื้มปิติวิริยะเวช

ผศ.ดร.ธันวดี สุเนตนันท์ และ ผศ.ดร.ชาญยศ ปลื้มปิติวิริยะเวช
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงานวิจัย เรื่อง “Ontology-based multiperspective requirements traceability framework”

รางวัลผลงานวิจัยด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ศิลปกรรม


รศ.ดร.ศรีสมบัติ โชคประจักษ์ชัด
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์


ผศ.ดร.โธมัส กวาดามูซ
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์

รางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์สูงสุด

ให้แก่นักวิจัยหรือกลุ่มวิจัยที่มีจำนวนผลงานวิจัยตีพิมพ์สูงสุด 3 อันดับแรก ในปี พ.ศ. 2551 – 2552 (ค.ศ. 2008 – 2009) จากฐานข้อมูล ISI Web of Science และฐานข้อมูล Scopus

ฐานข้อมูล ISI Web of Science


ศ.ดร.วีระพงศ์ ปรัชชญาสิทธิกุล


ศ.ดร.ประเสริฐ โศภน


Prof.Dr.Timothy William Flegel

ฐานข้อมูล Scopus


ผศ.นพ.วรุตม์ โล่ห์สิริวัฒน์


รศ.ดร.ฉัตรเฉลิม อิศรางกูร ณ อยุธยา


รศ.ดร.วรรณพงษ์ เตรียมโพธิ์

รางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงในวารสาร (Citation) สูงสุด

ให้แก่นักวิจัยหรือกลุ่มวิจัยที่มีผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงจากฐานข้อมูล Scopus ย้อนหลัง 5 ปี นับจากปีที่ให้รางวัล

สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ

ศ.พญ.พรรณี ปิติสุทธิธรรม
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
ผลงานวิจัย เรื่อง “Activity of posaconazole in the treatment of central nervous system fungal infections”

สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ

Professor Dr.David John Ruffolo
คณะวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัย เรื่อง “Relativistic solar neutrons and protons on 28 October 2003”

สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์

กลุ่มวิจัยของ ผศ.นพ.ดร.อนวัช ศกุนตาภัย
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
ผลงานวิจัย เรื่อง “A variant in the CD209 promoter is associated with severity of dengue disease”

สาขาวิศวกรรมศาสตร์และคอมพิวเตอร์

กลุ่มวิจัยของ อ.ดร.วเรศ วีระสัย
คณะวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัย เรื่อง “Design and development of a highly stable hydrogen peroxide biosensor on screen printed carbon electrode based on horseradish peroxidase bound with gold nanoparticles in the matrix of chitosan”

สาขาสังคมศาสตร์

รศ.ดร.ลือชัย ศรีเงินยวง
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
ผลงานวิจัยเกี่ยวกับ เรื่อง “การวิเคราะห์สถานการณ์ของผู้ป่วยโรคเอดส์ในชุมชน”

สาขาการบริหารจัดการทางธุรกิจ

ผศ.ดร.สุขสรรค์ กันตะบุตร
วิทยาลัยการจัดการ
ผลงานวิจัยเกี่ยวกับ เรื่อง “Vision – based leadership”

รางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์สูงสุด

ให้แก่นักวิจัยหรือกลุ่มวิจัยที่มีจำนวนผลงานวิจัยตีพิมพ์สูงสุด 3 อันดับแรก ในปี พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007) จากฐานข้อมูล ISI Web of Science และฐานข้อมูล Scopus

ฐานข้อมูล ISI Web of Science


ศ.นพ.สุทัศน์ ฟู่เจริญ


ศ.ดร.ม.ร.ว.ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์


ศ.ดร.วิชัย ริ้วตระกูล

ฐานข้อมูล Scopus


Professor Dr.Nicholas J White


รศ.นพ.สมนึก สังฆานุภาพ


อ.นพ.วิศิษฎ์ ทองบุญเกิด

รางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงในวารสาร (Citation) สูงสุด

ให้แก่นักวิจัยหรือกลุ่มวิจัยที่มีผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงจากฐานข้อมูล Scopus ย้อนหลัง 5 ปี นับจากปีที่ให้รางวัล

สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ และสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์


ศ.ดร.พิไลพันธ์ พุธวัฒนะ
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล


ศ.ดร.ประเสริฐ เอื้อวรากุล
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

ผลงานวิจัย เรื่อง “Molecular characterization of the complete genome of human influenza H5N1 virus isolates from Thailand”

สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ

ผศ.ดร.วีระชัย สิริพันธ์วราภรณ์

ผศ.ดร.วีระชัย สิริพันธ์วราภรณ์
คณะวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัย เรื่อง “Three – dimensional magnetotelluric inversion : Data – space method”

สาขาคณิตศาสตร์

Professor Dr. I – Ming Tang
คณะวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัย เรื่อง “Theoretical analysis of destabilization resonances in time – delayed stochastic second – order dynamical systems and some implications for human motor control”

สาขาวิศวกรรมศาสตร์และคอมพิวเตอร์


ผศ.ดร.ธนากร โอสถจันทร์
คณะวิทยาศาสตร์


ผศ.ดร.ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ
คณะวิทยาศาสตร์


ผศ.ดร.เติมศักดิ์ ศรีคิรินทร์
คณะวิทยาศาสตร์

ผลงานวิจัย เรื่อง “Spectroscopic study of photophysical change in collapsed coils of conjugated polymers : Effects of solvent and temperature”

รางวัลผลงานวิจัยด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์

ผลงานด้านมนุษยศาสตร์

ศ.ดร.สมทรง บุรุษพัฒน์
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
ผลงานวิจัย เรื่อง “การเปรียบเทียบคำลักษณะนามในภาษาตระกูลไท – กะได”

ผลงานด้านสังคมศาสตร์

รศ.ดร.กฤตยา อาชวนิจกุล
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
ผลงานวิจัย เรื่อง “รัฐไทยกับการปรับเปลี่ยนนโยบายเอดส์และอนามัยเจริญพันธุ์ในกลุ่มแรงงานข้ามชาติ”