Good Governance in Digital Era: ธรรมาภิบาลในยุคดิจิทัล

ปัจจัยแห่งความสำเร็จของมหาวิทยาลัยมหิดลที่สำคัญประการหนึ่งคือ บุคลากร ซึ่งมหาวิทยาลัยมหิดลได้ให้ความสำคัญกับบุคลากรและการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่องตลอดมา ดังจะเห็นได้จากมีการนำเครื่องมือและกระบวนการต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ขับเคลื่อนด้านการพัฒนาคุณภาพบุคลากร ให้เหมาะสมกับบริบทของมหาวิทยาลัย ให้ก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอก การจัดงานมหกรรมคุณภาพนับเป็นเครื่องมือและกระบวนการหนึ่งที่ใช้เป็นพื้นที่ในแสดงการพัฒนางานจากบุคลากรของมหาวิทยาลัย ซึ่งจัดต่อเนื่องเป็นปีที่ 9 เป็นการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพงานไปพร้อมๆกับการพัฒนาบุคลากร โดยในปี 2565 นี้ งานมหกรรมคุณภาพจัดภายใต้หัวข้อ"Good Governance in Digital Era: ธรรมาภิบาลในยุคดิจิทัล”

มหาวิทยาลัยมหิดลหวังเป็นอย่างยิ่งว่างานมหกรรมคุณภาพ จะเป็นพื้นที่ที่ทำให้เกิดความคิดริเริ่มพัฒนาด้านต่างๆ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดี อีกทั้งเป็นพื้นที่แห่งความภาคภูมิใจสำหรับผู้ได้รับรางวัลและผู้นำเสนอผลงาน และสร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้เข้าร่วมงานทุกท่านเพื่อสร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณภาพ พัฒนาตน พัฒนางานนำไปสู่สิ่งที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องให้กับมหาวิทยาลัยต่อไป

รองศาสตราจารย์ ดร.ภก.สมภพ  ประธานธุรารักษ์
รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ประธานคณะกรรมการจัดงาน

 
วันมหกรรม วันอังคารที่ 29 เดือนพฤศจิกายน พุทธศักราช 2565
ณ มหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา และบนระบบออนไลน์ Cisco Webex Events

กำหนดการอาจมีการแก้ไข กำหนดการในรูปแบบ Portable Document Format (.pdf)

 

พิธีเปิดมหกรรมคุณภาพและ
มอบรางวัล Team Good Practice Award และ Innovative Teaching Award


โดย
รองศาสตราจารย์ ดร. ภญ.จุฑามณี สุทธิสีสังข์

รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
การบรรยายพิเศษ “บทบาทมหาวิทยาลัยกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล”

โดย
ดร.สุพจน์ เธียรวุฒิ

ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน)
 
Poster Round Session
รับประทานอาหารกลางวัน
การบรรยายกลุ่มผลงาน และกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
The AUN Technology Enhanced Personalised Learning (AUN-TEPL)
Team Good
Practice Award
ห้องบรรยาย 1

13:00-
13:20

T1-01 RA
ระบบจัดการข้อมูลธนาคารชีวภาพสำหรับโรคมะเร็งระดับสหสถาบันแบบครบวงจร (Comprehensive tumor biobank software for multicenter studies)

13:20-
13:40

T1-02 SI
โครงการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคระบบหายใจ (Pediatric Respiratory Care Center)

13:40-
14:00

T1-03 RA
การออกแบบอุปกรณ์ป้องกันการบาดเจ็บในช่องปากจากการรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า

14:00-
14:20

T1-04 NS
NS EVA ระบบประเมินคณะพยาบาลศาสตร์ “เสียงของคุณมีค่าสำหรับเรา”

14:20-
14:40

T1-05 IHRP
กลุ่มถักทอสันติภาพ (กทส.) (Weaving Peace Together (WPT))

14:40-
15:00

Innovative Teaching Award

N1-01 PT
Media of Anatomy Laboratory Identification during the COVID-19 pandemic (MALI-2019)

Oral
presentation
Story
telling
ห้องบรรยาย 2

ห้องบรรยาย 3

ห้องบรรยาย 4

ห้องบรรยาย 5

13:00-
13:15

R1-01 RA
อุปกรณ์วัดลิ้นหัวใจไมทรัลแบบยืดหยุ่น
(Flexible Sizer for Mitral Ring Valve)

R3-01 RA
พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ในการดูแลผู้ป่วยผ่าตัดข้อเข่าและข้อสะโพกเพื่อป้องกันการเกิดภาวะลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดดำ (VTE: venous thromboembolism)

R5-01 RA
mobile application ช่วยคำนวณยาที่มีความเสี่ยงสูง

S1-01 RA
กว่าจะรู้เดียงสากับการศึกษาออนไลน์

13:15-
13:30

R1-02 RA
Ultrasound Probe cover

R3-02 RA
การพัฒนาสมรรถนะพยาบาลจบใหม่ในการส่งเครื่องมือผ่าตัดคลอดบุตร

R5-02 SI
รายงานการเงินเพื่อการบริหารจัดการ (Financial Information for management)

S1-02 RA
นาที...ระทึก

13:30-
13:45

R1-03 RA
Gall Stone Forceps

R3-03 SI
การพัฒนาระบบบริการเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ COVID-19 ในห้องคลอด รพ.ศิริราช

R5-03 ICT
ห้อง(เรียน)ใหญ่แค่ไหน เช็คชื่อไวได้ ด้วย QR Code

S1-03 SI
เส้นชัยที่ไม่จำเป็นต้องไปถึง

13:45-
14:00

R1-04 SI
กล่องเก็บรักษ์ชิ้นส่วน

R3-04 SI
โครงการพัฒนาระบบการดูแลและติดตามผู้ป่วยมะเร็งที่มารับการตรวจตามนัดครั้งแรกภายหลังฉายรังสีครบ

R5-04 ICT
การพัฒนาแบบจำลองห้อง Studio ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง (VR) เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับผู้ใช้บริการ (ICT Studio VR Tour – Phase 1)

S1-04 RA
เสาหลัก

14:00-
14:15

R2-01 RA
ถุงใส่ urine ไม่รั้ง ไม่ย้อน ไม่ก้ม ไม่ล้ม

R4-01 KA
กิจกรรมดูนกในวิทยาเขตกาญจนบุรี มหาวิทยาลัยมหิดล: จากการเรียนการสอนสู่กระบวนการพัฒนาวิทยาศาสตร์ภาคพลเมือง

R6-01 SI
การใช้เกม BactoBattle เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนเรื่องแบคทีเรียวิทยาทางการแพทย์

S1-05 LC
สอบ สร้าง สุข วางใจพี่ ๆๆๆ งานบริหารการศึกษา

14:15-
14:30

R2-02 RA
การพัฒนาสารละลายคาร์ดิโอพลีเจียชนิดออกฤทธิ์นานและชุดวงจรสำหรับให้สารละลายฯ

R4-02 ICT
ทบทวนกระบวนการเยี่ยมสำรวจฝ่ายงานภายใน (ระยะที่ 2)

R6-02 SI
ผลของการปรับปรุงหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล หลักสูตรปรับปรุงปีการศึกษา 2564 ในด้านการจัดการเรียนการสอน การประเมินผลตามผลลัพธ์การเรียนรู้ และการตัดสินผลแบบสัญลักษณ์ที่ไม่มีแต้มประจำ

14:30-
14:45

R2-03 RA
ฉีดยาถูก ติดลูกแน่นอน

R4-03 RA
สร้างการติดตาม เอกสารได้ไว ผู้รับบริการพอใจ งานได้ระบบ : การเคลมประกันชีวิต/ประกันสุขภาพ

R6-03 RA
Virtual Tabletop Exercise for Mass Casualty Incident and Disaster Management (VTTX-MCID Project)

 
14:45-
15:00

R2-04 SI
ครอบง่าย ไร้ตาแห้ง

R4-04 SI
ผลการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการคลังสินค้าวัสดุงานช่าง

   
The AUN Technology Enhanced Personalised Learning
(AUN-TEPL)
ห้องบรรยาย 6

13:00-
13:10

พัก

13:10-
13:30

TEPL-01 LA
Lessons Learned from Incorporating Technology and Active Learning to Promote Digital Intelligence in an English Curriculum

13:30-
13:50

TEPL-02 LC
Emergency remote teaching and learning in a language and intercultural communication program during the “new normal” in Thai higher education

13:50-
14:10

TEPL-03 LA
Sparking Active Learning in a Remote Classroom

14:10-
14:20

พัก

14:20-
14:40

TEPL-04 PH
The influences of online learning class during the COVID-19 pandemic on student performance and their mental health status

14:40-
15:00

TEPL-05 ICT
Comparison of Learning Achievement between Online and Onsite learning in Database Design Course

การเสวนา “Digital Transformation”

โดย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธัชวีร์ ลีละวัฒน์
รองอธิการบดีฝ่ายสารสนเทศและวิทยาเขตกาญจนบุรี มหาวิทยาลัยมหิดล

อาจารย์ ดร. นพ.บดินทร์ ทรัพย์สมบูรณ์
คณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านสาธารณสุข)
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
อาจารย์ ดร.พัฒนศักดิ์ มงคลวัฒน์
คณบดีคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โษฑศ์รัตต ธรรมบุษดี
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ดำเนินการเสวนา โดย
อาจารย์ ดร.ระพี บุญเปลื้อง
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ประกาศผลการพิจารณาผลงาน & มอบรางวัล
โดย
รองศาสตราจารย์ ดร. ภญ.จุฑามณี สุทธิสีสังข์

รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
   

MQF2022 Abstract book



การนำเสนอในวันมหกรรม

Key Dates !
ยืนยันนำเสนอผลงาน 21 ต.ค. 63
ปิดลงทะเบียนเข้าร่วม 15 พ.ย. 63
จัดส่งไฟล์ Poster บนระบบ ภายใน 1-10 พ.ย. 63
นำเสนอผลงาน 24 พ.ย. 63

ข้อพึงระวัง

  1. ต้องลงทะเบียนยืนยันการนำเสนอผลงานภายในวันที่ 21 ตุลาคม 2563
  2. จัดส่งไฟล์เอกสารในแต่ละประเภท ระหว่างวันที่ 1-10 พฤศจิกายน 2563 บนระบบจัดส่งผลงาน
  3. ผลงานที่ได้รับการพิจารณาคัดเลือก (ในประเภท Oral และ Poster Presentation) จะถูกเผยแพร่บน Website Mahidol Quality Fair#2020 ในระบบ Intranet และจัดพิมพ์ลงบนหนังสือรวบรวมผลงาน
  4. ผู้ส่งผลงาน และผู้ร่วมทำผลงาน ต้องลงทะเบียนบนระบบเข้าร่วมกิจกรรมเช่นเดียวกับผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมทั่วไป
  5. การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด


การจัดทำเอกสารและสื่อนำเสนอ

T
Oral Presentation
I
Poster Presentation
P Story Telling
โปรดสนใจ
  1. ระยะเวลาในการนำเสนอผลงาน 10 นาที และช่วงตอบคำถาม 5 นาที
  2. ไม่จำกัดเทคนิค กระบวนการ หรือโปรแกรมที่ใช้ในการนำเสนอ หากนำเสนอด้วยโปรแกรม Microsoft PowerPoint แนะนำอัตราส่วนที่แสดงผลได้ดีอยู่ที่ 16:9
  3. นำไฟล์นำเสนอผลงาน มาบันทึกลงบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้จัดกิจกรรมในเวลา 7.00 น. ในวันที่ 24 พฤศจิกายน 2563
  4. จัดพิมพ์ผลงานที่นำเสนอ (Handout) จำนวน 10 ชุด (ขนาด 4 Slide / 1 แผ่น) เพื่อมอบให้คณะกรรมการฯ ในวันมหกรรม
  5. ผู้จัดกิจกรรม อำนวยความสะดวกเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในการนำเสนอ และขอสงวนสิทธิ์ไม่เชื่อมต่ออุปกรณ์ใด ๆ นอกเหนือที่ผู้จัดเตรียมไว้
  6. เพื่อป้องกันปัญหาการเกิดปัญหากับฟ้อนต์ MS.ppt ผู้ส่งผลงานควร Embed font ให้แล้วเสร็จก่อนส่งผลงาน
    ดูวิธีการ Embed font ได้ที่นี่
โปรดสนใจ
  1. จัดทำผลงานในรูปแบบ Poster ขนาด 80 x 200 ซม. (ไม่จำกัดรูปแบบ-องค์ประกอบในการนำเสนอ)
  2. เมื่อจัดทำเสร็จแล้ว ขอให้บันทึกและจัดส่งไฟล์ ในรูปแบบ .jpg และ .pdf บนระบบจัดส่งผลงาน
    ในวันที่ 1- 10 พฤศจิกายน 2563
  3. ผู้จัดกิจกรรมให้บริการจัดพิมพ์ Poster หรือการแสดงผลในรูปแบบอื่น ๆ โดยที่เจ้าของผลงานไม่ต้องจัดพิมพ์ ไม่เสียค่าใช้จ่ายและนำมาติดตั้งเองแต่ประการใด

ตัวอย่างการจัดทำ Poster
(ไม่บังคับแต่ประการใด)
  1. Poster Template (MS.PowerPoint)
  2. Poster Template (AI)
  3. MQF2022_Logo (JPG)
  4. MQF2022_Logo (PNG)

โปรดสนใจ
  1. ระยะเวลาในการนำเสนอผลงาน 10 นาที และช่วงตอบคำถาม 5 นาที
  2. ไม่จำกัดเทคนิค กระบวนการ หรือโปรแกรมที่ใช้ในการนำเสนอ หากนำเสนอด้วยโปรแกรม Microsoft PowerPoint แนะนำอัตราส่วนที่แสดงผลได้ดีอยู่ที่ 16:9
  3. เมื่อจัดทำเสร็จแล้ว ขอให้บันทึกและจัดส่งไฟล์ ในรูปแบบ .ppt หรือ .pptx บนระบบจัดส่งผลงาน
    ในวันที่ 1- 10 พฤศจิกายน 2563
  4. ผู้จัดกิจกรรม อำนวยความสะดวกเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในการนำเสนอ และขอสงวนสิทธิ์ไม่เชื่อมต่ออุปกรณ์ใด ๆ นอกเหนือที่ผู้จัดเตรียมไว้
  5. เพื่อป้องกันปัญหาการเกิดปัญหากับฟ้อนต์ MS.ppt ผู้ส่งผลงานควร Embed font ให้แล้วเสร็จก่อนส่งผลงาน
    ดูวิธีการ Embed font ได้ที่นี่

แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน

กลุ่มผลงาน
ที่ต้องได้รับคำยินยอมและคัดเลือกจากส่วนงานต้นสังกัด
กลุ่มผลงาน
ที่บุคลากรสามารถจัดส่งได้ด้วยตนเอง
T Team Good Practice Award
IInnovative Teaching Award P Oral Presentation
แบบฟอร์ม
  1. T: แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน
  2. T: แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน

โปสเตอร์

ตัวอย่างการจัดทำ ไม่บังคับแต่ประการใด กำหนดเฉพาะขนาด 80 x 200 cm. เท่านั้น
  1. Poster Template (MS.PowerPoint)
  2. Poster Template (.ai)
  3. MQF2022_Logo (.jpg)
  4. MQF2022_Logo (.png)


T

Public Policy Advocacy Award

แบบฟอร์ม
  1. P: แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน
  2. P: แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน

โปสเตอร์

ตัวอย่างการจัดทำ ไม่บังคับแต่ประการใด กำหนดเฉพาะขนาด 80 x 200 cm. เท่านั้น
  1. Poster Template (MS.PowerPoint)
  2. Poster Template (.ai)
  3. MQF2022_Logo (.jpg)
  4. MQF2022_Logo (.png)

แบบฟอร์ม
  1. I: แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน
  2. I: แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน

โปสเตอร์
ตัวอย่างการจัดทำ ไม่บังคับแต่ประการใด กำหนดเฉพาะขนาด 80 x 200 cm. เท่านั้น
  1. Poster Template (MS.PowerPoint)
  2. Poster Template (.ai)
  3. MQF2022_Logo (.jpg)
  4. MQF2022_Logo (.png)
แบบฟอร์ม
  1. O: แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน
  2. O: แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน

โปสเตอร์

ตัวอย่างการจัดทำ ไม่บังคับแต่ประการใด กำหนดเฉพาะขนาด 80 x 200 cm. เท่านั้น
  1. Poster Template (MS.PowerPoint)
  2. Poster Template (.ai)
  3. MQF2022_Logo (.jpg)
  4. MQF2022_Logo (.png)

C
Poster Presentation
แบบฟอร์ม
  1. P: บทคัดย่อผลงาน
  2. P: แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน

โปสเตอร์

ตัวอย่างการจัดทำ ไม่บังคับแต่ประการใด กำหนดเฉพาะขนาด 80 x 200 cm. เท่านั้น
  1. Poster Template (MS.PowerPoint)
  2. Poster Template (.ai)
  3. MQF2022_Logo (.jpg)
  4. MQF2022_Logo (.png)
S
Storytelling
แบบฟอร์ม : รูปแบบเล่าผ่านบทความ
  1. S: แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน
  2. S: แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน


แบบฟอร์ม : รูปแบบเล่าผ่าน Clip สั้น

  1. ความยาวไม่เกิน 7 นาที (.mp4)
  2. S: แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน

เอกสารที่ต้องจัดส่งบนระบบ
ขนาดไฟล์ไม่เกิน 10 MB ในทุกประเภทเอกสาร/รายการ (ยกเว้นกลุ่มผลงาน Storytelling : เล่าผ่านคลิปสั้น ขนาดไม่เกิน 100 MB)

กลุ่มผลงาน
ที่ต้องได้รับคำยินยอมและคัดเลือกจากส่วนงานต้นสังกัด
กลุ่มผลงาน
ที่บุคลากรสามารถจัดส่งได้ด้วยตนเอง
T Team Good Practice Award
IInnovative Teaching Award P Oral Presentation
ต้องมีหนังสือนำส่งจากส่วนงาน และ
หนังสือยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน แนบพร้อมกับลงทะเบียนส่งผลงาน

โปรดติดต่องานพัฒนาคุณภาพ ของส่วนงานของท่าน

  1. T: แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.doc/ .docx)
  2. T: แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.pdf)
  3. T: แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน (.pdf)
  4. หนังสือนำส่งจากส่วนงาน (.pdf)
  5. โปสเตอร์นำเสนอ ขนาด 80x200 cm. (.jpeg/ .jpg)
  6. โปสเตอร์นำเสนอ ขนาด 80x200 cm. (.pdf)

     


T

Public Policy Advocacy Award

ต้องมีหนังสือนำส่งจากส่วนงาน และ
หนังสือยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน แนบพร้อมกับลงทะเบียนส่งผลงาน

โปรดติดต่องานพัฒนาคุณภาพ ของส่วนงานของท่าน

  1. P: แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.doc/ .docx)
  2. P: แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.pdf)
  3. P: แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน (.pdf)
  4. หนังสือนำส่งจากส่วนงาน (.pdf)
  5. โปสเตอร์นำเสนอ ขนาด 80x200 cm. (.jpeg/ .jpg)
  6. โปสเตอร์นำเสนอ ขนาด 80x200 cm. (.pdf)

     


ต้องมีหนังสือนำส่งจากส่วนงาน และ
หนังสือยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน แนบพร้อมกับลงทะเบียนส่งผลงาน

โปรดติดต่องานพัฒนาคุณภาพ ของส่วนงานของท่าน

  1. I: แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.doc/ .docx)
  2. I: แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.pdf)
  3. I: แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน (.pdf)
  4. หนังสือนำส่งจากส่วนงาน (.pdf)
  5. โปสเตอร์นำเสนอ ขนาด 80x200 cm. (.jpeg/ .jpg)
  6. โปสเตอร์นำเสนอ ขนาด 80x200 cm. (.pdf)

     

  1. O: แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.doc/ .docx)
  2. O: แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.pdf)
  3. O: แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน (.pdf)
  4. โปสเตอร์นำเสนอ ขนาด 80x200 cm. (.jpeg/ .jpg)
  5. โปสเตอร์นำเสนอ ขนาด 80x200 cm. (.pdf)

     

C
Poster Presentation
  1. P: บทคัดย่อผลงาน (.doc/ .docx)
  2. P: บทคัดย่อผลงาน (.pdf)
  3. P: แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน (.pdf)
  4. โปสเตอร์นำเสนอ ขนาด 80x200 cm. (.jpeg/ .jpg)
  5. โปสเตอร์นำเสนอ ขนาด 80x200 cm. (.pdf)

     

S
Storytelling
รูปแบบเล่าผ่านบทความ
  1. S: แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.doc/ .docx)
  2. S: แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.pdf)
  3. S: แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน (.pdf)

รูปแบบเล่าผ่าน Clip สั้น
  1. ไฟล์ Clip สั้นไม่เกิน 7 นาที (.mp4)
  2. แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน (.pdf)

ขอแสดงความยินดีกับผลงานที่ได้รับการคัดเลือกให้นำเสนอในวันมหกรรม


Team Good Practice Award/ Innovative Teaching Award/ Public Policy Advocacy Award


New.NO.
Ref.
ชื่อผลงาน - หน่วยงาน
ประเภท
ผู้นำเสนอผลงาน
รางวัล
         


ผลงานที่ได้รับการคัดเลือกให้นำเสนอด้วยวาจา (Oral presentation)


New.NO.
Ref.
ชื่อผลงาน - หน่วยงาน
ประเภท
ผู้นำเสนอผลงาน
รางวัล
         


ผลงานที่ได้รับการคัดเลือกให้นำเสนอด้วยโปสเตอร์ (Poster presentation)
จัดแสดง ณ มหิดลสิทธาคาร

ผลงานระดับพัฒนาการงานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research, R2R) หรือ
นวัตกรรมในการพัฒนาคุณภาพ (Innovation in Quality Development, InQD)


New.NO.
Ref.
ชื่อผลงาน - หน่วยงาน
ประเภท
ผู้นำเสนอผลงาน
รางวัล
         


ผลงานที่ได้รับการคัดเลือกให้นำเสนอด้วยโปสเตอร์ (Poster presentation)
จัดแสดงในรูปแบบออนไลน์ผ่าน Mahidol University Digital KM Masterclass

ผลงานในระดับพัฒนาการคุณภาพเริ่มต้น (Initial Quality Development, IQD) หรือ
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (Continuous Quality Improvement, CQI)


New.NO.
Ref.
ชื่อผลงาน - หน่วยงาน
ประเภท
ผู้ส่งผลงาน
         


ผลงานที่ได้รับการคัดเลือกให้นำเสนอด้วยวาจา ประเภทเรื่องเล่าเร้าพลัง (Storytelling)


New.NO.
Ref.
ชื่อผลงาน - หน่วยงาน
ประเภท
ผู้นำเสนอผลงาน
รางวัล
         


ผลงานที่ได้รับการคัดเลือกให้เผยแพร่บทความผ่าน Mahidol University Digital KM Masterclass ประเภทเรื่องเล่าเร้าพลัง (Storytelling)


New.NO.
Ref.
ชื่อผลงาน - หน่วยงาน
ประเภท
ผู้ส่งผลงาน
         

ผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม์กับเรา

         
ลำดับ
เวลา
ชื่อ-สกุล
ส่วนงาน / สังกัด
 
         

หากมีข้อสงสัย หรือต้องการความช่วยเหลือ สามารถติดต่อเราได้ที่

สอบถาม ขอความช่วยเหลือ ผ่าน Line @ Official
http://nav.cx/emITFlD คลิกเลย
----------------------------------------------------------------

นายปิยะณัฐ พรมสาร นักวิชาการพัฒนาคุณภาพ (ผู้ชำนาญการพิเศษ)
น.ส.ณัฐธิดา เถื่อนหรุ่น นักวิชาการพัฒนาคุณภาพ
โทร 0 2849 6062, 0 2849 6062-5
email address: mahidolqd@mahidol.edu
ระหว่างเวลา 9.00 - 16.00 น. ในวันทำการ
หรือที่ Facebook Fanpage: facebook.com/MahidolQD/
----------------------------------------------------------------
สำนักงานโครงการมหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
กองพัฒนาคุณภาพ ชั้น 3 อาคารสำนักงานอธิการบดี ศาลายา
มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
โทร 0 2849 6062 - 4, 0 2849 6065 โทรสาร 0 2849 6061
Website: https://op.mahidol.ac.th/qd/
----------------------------------------------------------------
แผนที่การเดินทาง ในรูปแบบ Portable Document Format (PDF)