โครงการเครือข่ายพันธมิตรการวิจัยด้านวิศวกรรมชีวเวชและชีววัสดุ มหาวิทยาลัยมหิดล – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
(MU – KMUTT Biomedical Engineering & Biomaterials Consortium)
โครงการวิจัยภายใต้ความร่วมมือประจำปีงบประมาณ 2567
ลำดับ | ชื่อโครงการ | ชื่อนักวิจัย (มม.) | ชื่อนักวิจัย (มจธ.) | แหล่งทุน |
1 | การพัฒนาชุดเครื่องมือที่บูรณาการศาสตร์ด้านการเรียนรู้ของเครื่องเพื่อช่วยเร่งในการคิดค้นยาตัวใหม่ที่มีประสิทธิภาพในการต้านไวรัส เพื่อเป็นแนวทางสำหรับการประยุกต์ใช้ในการออกแบบและพัฒนายา | รศ. ดร.วัชระ ชุ่มบัวตอง คณะเทคนิคการแพทย์ | ผศ. ดร.กานต์ธิดา กุศลมโน คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
2 | การประยุกต์ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์เซ็นเซอร์วัดความหนืดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและพัฒนาชุดต้นแบบในการแปรผล CMT เพื่อการวินิจฉัยโรคเต้านมอักเสบแบบไม่แสดงอาการในโคนม | รศ. ดร. น.สพ.จิตรกมล ธนศักดิ์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ | รศ. ดร.ราชวดี ศิลาพันธ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
3 | การพัฒนาตัวกรองอากาศจากวัสดุโครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์ (MOFs) และวัสดุโลหะผสมกับ MOFs เพื่อใช้กำจัดหรือยับยั้งจุลินทรีย์ในระบบกรองอากาศ | ผศ. ดร.วนิดา คูอมรพัฒนะ คณะวิศวกรรมศาสตร์ | รศ. ดร.ปานจันทร์ ศรีจรูญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
4 | การพัฒนาไฮโดรเจลเมมเบรนดักจับฟอสเฟตเพื่อใช้ในเครื่องกรองเลือดขนาดพกพาสำหรับผู้ป่วยหลังรักษาเคมีบำบัด | อ. ดร.จตุรวิทย์ พันธกิจเจริญกุล คณะเทคนิคการแพทย์ | ผศ. ดร.ปาริชาต นฤพนธ์จิรกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
5 | การพัฒนาวัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาไบโอซิลิกาจากเถ้าชานอ้อยเพื่อใช้สังเคราะห์ท่อนาโนคาร์บอน | ผศ. ดร.วีรวุฒิ ชัยวัฒน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ | รศ. ดร.นคร วรสุวรรณรักษ์ บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
โครงการวิจัยภายใต้ความร่วมมือประจำปีงบประมาณ 2566
ลำดับ | ชื่อโครงการ | ชื่อนักวิจัย (มม.) | ชื่อนักวิจัย (มจธ.) | แหล่งทุน |
1 | ผลของวิธีการทำแห้งแบบพ่นฝอยและแบบแช่เยือกแข็งต่อโครงสร้างระดับจุลภาค สมบัติเชิงหน้าที่ และกิจกรรมทางชีวภาพก่อนและภายหลังการย่อยในสภาวะจำลองระบบการย่อยในทางเดินอาหารของโปรตีนไฮโดรไลเซทจากไข่น้ำ Wolffia globosa | อ. ดร.ธีรรัตน์ ลิขิตวัฒนเศรษฐ คณะวิทยาศาสตร์ | รศ. ดร.เสาวคนธ์ วงศาสุลักษณ์ สถาบันพัฒนาและฝึกอบรมโรงงานต้นแบบ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
2 | การปรับปรุงศักยภาพของแบคเทอริโอซินให้มีประสิทธิภาพยับยั้งเชื้อได้มากสายพันธุ์ของแบคทีเรียก่อโรคที่ดื้อยาปฏิชีวนะ | ศ. ดร.ชนันท์ อังศุธนสมบัติ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล | ผศ. ดร.นุจริน จงรุจา คณะวิทยาศาสตร์ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
โครงการวิจัยภายใต้ความร่วมมือประจำปีงบประมาณ 2565
ลำดับ | ชื่อโครงการ | ชื่อนักวิจัย (มม.) | ชื่อนักวิจัย (มจธ.) | แหล่งทุน |
1 | การพัฒนาแบบจำลองปัญญาประดิษฐ์สำหรับแปรผลภาพถ่ายชุดตรวจวินิจฉัยโรคเลปโตสไปโรสิส | อ. ดร.สุนทร ตันติถาวรวัฒน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ | รศ. ดร.ขวัญชนก พสุวัต คณะวิศวกรรมศาสตร์ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
2 | การพัฒนาเครื่องมือยืดกระดูกขากรรไกรบนที่ให้แรงต่อเนื่องจากขดลวดนิกเกิลไทเทเนียม | ผศ. ดร. ทพญ.รชยา จินตวลากร คณะทันตแพทยศาสตร์ | รศ. ดร.อนรรฆ ขันธะชวนะ คณะวิศวกรรมศาสตร์ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
3 | การดูดซับของเสียในเครื่องไตเทียมด้วยเม็ดถ่านกัมมันต์ไฮบริดชีวภาพเพื่อนำน้ำยาฟอกเลือดกลับมาใช้ใหม่ | ผศ. ดร.วีรวุฒิ ชัยวัฒน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ | รศ. ดร.นคร วรสุวรรณรักษ์ บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
โครงการวิจัยภายใต้ความร่วมมือประจำปีงบประมาณ 2564
ลำดับ | ชื่อโครงการ | ชื่อนักวิจัย (มม.) | ชื่อนักวิจัย (มจธ.) | แหล่งทุน |
1 | การทดสอบประสิทธิภาพของ DPP-4 Inhibitor ในการรักษาแผล: ในระดับสัตว์ทดลอง | ศ. นพ.พรพรหม เมืองแมน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล | รศ. ดร.ขวัญชนก พสุวัต คณะวิศวกรรมศาสตร์ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
2 | การพัฒนาสารเติมแต่งในเส้นใยสังเคราะห์ ให้มีประสิทธิภาพในการยับยั้งไวรัส SAR-CoV-2 ด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาทางแสง | รศ. ดร.พรสวรรค์ เหลืองวุฒิ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน | ผศ. ดร.สิริลักษณ์ เจียรากร คณะพลังงานสิ่งแวดล้อมและวัสดุ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
3 | การพัฒนาเม็ดถ่านกัมมันต์ไฮบริดจากชานอ้อยด้วยวิธีการขึ้นรูปเม็ดแบบหลังและก่อนสังเคราะห์ถ่านกัมมันต์ที่ผ่านกระบวนการ คาร์บอไนเซชันและการกระตุ้นด้วยไอน้ำ | ผศ. ดร.วีรวุฒิ ชัยวัฒน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ | รศ. ดร.นคร วรสุวรรณรักษ์ บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
4 | ก้อนหินที่สามารถกำจัดเชื้อแบคทีเรีย ทำจาก ZnO nanorods สำหรับใช้กำจัดเชื้อในน้ำ | รศ. ดร.กิตติทัศน์ สุบรรณจุ้ย คณะวิทยาศาสตร์ | รศ. ดร รุ่งทิวา (พลังสันติกุล) ภู่อาภรณ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
5 | การพัฒนาสูตรอาหาร "ถั่วเน่า" โดยใช้หัวเชื้อแบคทีเรียกลุ่ม โปรไบโอติก เพื่อการผลิตอาหารที่มีคุณภาพ และมาตรฐาน พร้อมอุดมด้วยกรดไขมันสายสั้น เพื่อประโยชน์ต่อสุขภาพ | ผศ. ดร.พรรัศมิ์ จินตฤทธิ์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน | ผศ. ดร.นุจริน จงรุจจา คณะวิทยาศาสตร์ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
6 | การวิเคราะห์จีโนมของเชื้อ Burkholderia pseudomallei เพื่อศึกษาระบาดวิทยาเชิงโมเลกุลและการเปลี่ยนแปลงภายในโฮสต์ของเชื้อในผู้ป่วยโรคเมลิออยโดสิส | รศ. ดร.นริศรา จันทราทิตย์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน | ดร.กมลชนก ชีวะปรีชา คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
7 | การพัฒนาพอลิเมอริกนาโนพาร์ทิเคิล สำหรับนำส่งสารสกัดถั่งเช่าสู่มะเร็งเป้าหมาย | รศ. ดร.จิรพงศ์ สุขศิริวงพงศ์ คณะเภสัชศาสตร์ | ผศ. ดร.ณัฐชัย พงษ์ประเสริฐ คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
8 | การศึกษาไอโซมอลโตโอลิโกแซ็กคาไรด์เป็นสารพรีไบโอติก ในหนูที่มีสภาวะไขมันเลือดสูงจากการกินอาหาร | ผศ. ดร.พัฒนียา ปรางทิพย์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน | ผศ. ดร.รัตติยา แววนุกูล สถาบันพัฒนาและฝึกอบรมโรงงานต้นแบบ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
9 | การวิเคราะห์สารออกฤทธิ์สำคัญในดอกไม้ไทยรับประทานได้ ที่มีศักยภาพในทางการค้า และการใช้อุณหภูมิต่ำ เพื่อคงปริมาณสารออกฤทธิ์ในดอกไม้ | ดร.อาพันธ์ชนิด เทพอวยพร คณะเวชศาสตร์เขตร้อน | ผศ. ดร.มัณฑนา บัวหนอง คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
10 | การพัฒนาแบบจำลองปัญญาประดิษฐ์สำหรับแปลผลภาพถ่ายชุดตรวจวินิจฉัยโรคเลปโตสไปโรสิส | ผศ. ดร.สันติ มณีวัชระรังสี คณะเวชศาสตร์เขตร้อน | ผศ. ดร.วรรัตน์ กระทู้ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยมหิดล |
11 | โครงเลี้ยงเซลล์จากวัสดุฐานพอลิแลคติกเอซิด เพื่อการสร้างเนื้อเยื่อไขมัน | รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช คณะเทคนิคการแพทย์ | ดร.กมลชนก งามขำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
12 | การขยายขนาดแผ่นเซลล์ผิวหนัง โดยใช้เทคนิค MEEK | ศ. นพ.พรพรหม เมืองแมน ดร.นันทพร นามวิริยะโชติ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล | รศ. ดร.ขวัญชนก พสุวัต คณะวิศวกรรมศาสตร์ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
13 | การพัฒนาเซ็นเซอร์แบบใช้แล้วทิ้ง โดยใช้เทคนิคโวลแทมเมตทรี สำหรับตรวจวัดสีปรุงแต่งปนเปื้อนในเครื่องดื่ม | รศ. ดร.กิตติทัศน์ สุบรรณจุ้ย คณะวิทยาศาสตร์ | รศ. ดร.รุ่งทิวา ภู่อาภรณ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
14 | การพัฒนาไบโอซีเมนต์ จากกลุ่มจุลินทรีย์ที่คัดแยกจากของเหลือทิ้งในอุตสาหกรรมอาหารทะเล | ผศ. ดร.ภริณดา ทยานุกูล นางสาวเมนิสา เนตรแตงนายกัณฑวีร์ ภูธนาวิวัฒน์ คณะวิทยาศาสตร์ | ผศ. ดร.ธิดารัตน์ บุญศรี คณะวิทยาศาสตร์ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
15 | การพัฒนาวัสดุปิดแผลไฮโดรเจลเอ็กโซพอลิแซ็กคาไรด์ ชนิดลีแวนที่บรรจุอนุภาคเงินนาโน | ผศ. ดร.พัฒนียา ปรางทิพย์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน | ผศ. ดร.รัตติยา แววนุกูล สถาบันพัฒนาและฝึกอบรมโรงงานต้นแบบ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
16 | การพัฒนาอนุภาคนาโนจากแก้วชีวภาพ เพื่อการรักษาเซลล์มะเร็งกระดูก | ดร. ภญ.ผกาทิพย์ รื่นระเริงศักดิ์ คณะเภสัชศาสตร์ | ดร.ปาริชาต นฤพนธ์จิรกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
17 | โครงการศึกษาความเป็นไปได้ของการพัฒนาระบบอัตโนมัติครบวงจร สำหรับการผลิตยาฉีดผสมให้ทางหลอดเลือดดำในโรงพยาบาล | ผศ. ดร. ภญ.ศิตาพร ยังคง ภก.อุกฤษฏ์ สิทธิบุศย์ รศ. ภก.สุรกิจ นาฑีสุวรรณ คณะเภสัชศาสตร์ | ดร.ปราการเกียรติ ยังคง สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม | เงินรายได้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
18 | การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของ DPP-4 Inhibitor ในการรักษาแผล: ในระดับห้องปฏิบัติการ | ศ. นพ.พรพรหม เมืองแมน ดร.นันทพร นามวิริยะโชติ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล | รศ. ดร.ขวัญชนก พสุวัต คณะวิศวกรรมศาสตร์ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
19 | การสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์อัจฉริยะ ประมวลผลคลื่นสมองในการทำนายพิกัดของวัตถุบนหน้าจอภาพ เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารระหว่างสมองและเครื่องจักร | รศ. ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ | ดร.ศิรวัจน์ อิทธิภูริพัฒน์ สถาบันการเรียนรู้ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
20 | โครงการพัฒนาต่อยอด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการป้องกันโรคในพื้นที่เชิงรุก โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ผศ. ดร.พิจิตรพงศ์ สุนทรพิพิธ ผศ. ดร.จุฑาธิป ศีลบุตร คณะสาธารณสุขศาสตร์ | ผศ.ชุดาณัฏฐ์ สุดทองคง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ | เงินรายได้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |