Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L
ปัจจัยแห่งความสำเร็จของมหาวิทยาลัยมหิดลที่สำคัญประการหนึ่งคือ บุคลากร ซึ่งมหาวิทยาลัยมหิดลได้ให้ความสำคัญกับบุคลากรและการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่องตลอดมา ดังจะเห็นได้จากมีการนำเครื่องมือและกระบวนการต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ขับเคลื่อนด้านการพัฒนาคุณภาพบุคลากร ให้เหมาะสมกับบริบทของมหาวิทยาลัย ให้ก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอก การจัดงานมหกรรมคุณภาพนับเป็นเครื่องมือและกระบวนการหนึ่งที่ใช้เป็นพื้นที่ในแสดงการพัฒนางานจากบุคลากรของมหาวิทยาลัย ซึ่งจัดต่อเนื่องเป็นปีที่ 8 เป็นการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพงานไปพร้อมๆกับการพัฒนาบุคลากร โดยในปี 2564 นี้ งานมหกรรมคุณภาพจัดภายใต้หัวข้อ"Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”
มหาวิทยาลัยมหิดลหวังเป็นอย่างยิ่งว่างานมหกรรมคุณภาพ จะเป็นพื้นที่ที่ทำให้เกิดความคิดริเริ่มพัฒนาด้านต่างๆ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดี อีกทั้งเป็นพื้นที่แห่งความภาคภูมิใจสำหรับผู้ได้รับรางวัลและผู้นำเสนอผลงาน และสร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้เข้าร่วมงานทุกท่านเพื่อสร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณภาพ พัฒนาตน พัฒนางานนำไปสู่สิ่งที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องให้กับมหาวิทยาลัยต่อไป
รองศาสตราจารย์ ดร.ภก.สมภพ ประธานธุรารักษ์
รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ประธานคณะกรรมการจัดงาน
วันมหกรรม วันอังคารที่ 30 เดือนพฤศจิกายน พุทธศักราช 2564
ถ่ายทอดสด ณ มหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา และบนระบบออนไลน์ Cisco Webex Events
กำหนดการอาจมีการแก้ไข
09.00 – 09.30
พิธีเปิดมหกรรมคุณภาพและ
มอบรางวัล Team Good Practice Award
Innovative Teaching Award
Public Policy Advocacy Award
โดย
ศาสตราจารย์ นพ.บรรจง มไหสวริยะ
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
09.30-10.30
Poster Round Session บน Mahidol University Digital KM Masterclass
10.30-11.15
การบรรยายพิเศษ “Mahidol Culture”
โดย
ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร
นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล
11.15-13.00
รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-15.00
การบรรยายกลุ่มผลงาน Team Good Practice Award/ Innovative Teaching Award/ Public Policy Advocacy Award/ Oral presentation/ Storytelling
Team Good
Practice Award
Public Policy Advocacy Award
Time
13.00-
13.20
T01-01
RA
Palliative Care ไม้ผลัดสุดท้าย…สู่เส้นชัยที่งดงาม)
A01-01
SI
การพัฒนาการจัดทำและจัดเก็บใบเสร็จรับเงินรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Receipt)
13.20-
13.40
T01-02
NS
พัฒนารูปแบบการจัดเก็บข้อมูล KPI Online ตามเกณฑ์ต่างๆ ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (NSMU KPI Online)
A01-02
RA
การบริหารยาเคมีบำบัดที่บ้านจากรามาธิบดี สู่นโยบายบริการสาธารณสุขไทย
13.40-
14.00
T01-03
TM
Nurturing Research Culture Towards the World Class Tropical Medicine Research Institute
A01-03
IH
จากชุมชน สู่นโยบาย
Innovative Teaching Award
14.00-
14.20
N01-01
AM
Integration and Inclusion for Innovation by Design Thinking : นวัตกรรมบูรณาการเรียนร่วมด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ: กรณีศึกษาการพัฒนาผู้สอน-ผู้เรียน ของวิทยาเขตอำนาจเจริญ (2/63) ผ่านการบูรณาการสหสาขาวิชา(นวัตกรรม-เกษตร-สุขภาพ
Story
telling
Oral
presentation
Time
13.00-
13.15
S01-01
RS
ความตาบอดไม่ใช่จุดจบของชีวิต แต่เป็นจุดเริ่มต้นที่สร้างสรรค์สิ่งใหม่ให้คนพิการ
R01-01
RA
ระบบการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อการขออนุมัติค่าใช้จ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ
R02-01
RA
กางเกงดูแลแผล :ง่าย ปลอดภัย ได้ใจทั้งคนไข้และทีมดูแล
13.15-
13.30
S01-02
KA
ห้องปลดปล่อยแห่งความภูมิใจ
R01-02
SI
การพัฒนากระบวนการติดตามพอร์ตลงทุน วิเคราะห์และรายงานผลลงทุนเชิงลึก
R02-02
RA
เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วย/ผู้บริจาคที่มาเก็บเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด (Stem cell Collection) ระยะ 2
13.30-
13.45
S01-03
SI
POCT ร่วมใจเพื่อผู้ป่วยของพวกเรา
R01-03
SI
การบริหารต้นทุนด้วยเทคนิค Plan Actual service variance โดยใช้โปรแกรม Tableau
R02-03
DT
ระบบ GPS เพื่อควบคุมความเร็ว
13.45-
14.00
S01-04
RA
หัวใจดวงใหม่ในวันพ่อ
R01-04
ICT
MUICT Media สู่ยุค The Next Normal
R02-04
OPHR
สวัสดิการยืดหยุ่นด้านสุขภาพ (Flexible Benefit)
14.00-
14.15
S01-05
NA
เพลงรำชี้บท ป้องกันโควิด
R03-01
NS
การศึกษาความร่วมมือระหว่างห้องสมุดทางการพยาบาลในประเทศไทย
R04-01
SI
การอัปเดตคิวฉายรังสีของโรงพยาบาลมะเร็งทั่วประเทศเพื่อการส่งต่อด้วย Google Sheets
14.15-
14.30
S01-06
SI
บริการความรู้ เคียงข้างนักสู้โควิด
R03-02
MT
ทวนสอบ MT_PLOs ออนไลน์ ฝ่าความท้าทายวิกฤต COVID-19
R04-02
SI
Splint with strap
14.30-
14.45
R03-03
SI
แบบจำลองฝึกฝนการใส่ท่อระบายน้ำทารกในครรภ์
R04-03
RA
การพัฒนาอุปกรณ์ยึดสายชนิดปรับขนาดได้ (Universal Line Locker)
14.45-
15.00
R03-04
NS
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลศิษย์เก่า ระดับบัณฑิตศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
R04-01
RA
Tube container : Change for the better
15.00-16.00
การบรรยาย “Organizational Culture : หัวใจความสำเร็จขององค์กร”
โดย
คุณอภิรัตน์ หวานชะเอม
Chief Digital Officer : SCG Cement Building Materials Co.,Ltd.
16.00-16.30
ประกาศผลการพิจารณาผลงาน & มอบรางวัล
โดย
ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
ประเภทผลงาน
Team Good Practice Award
Innovative Teaching Award
Poster & Oral Presentation
ข้อมูลทั่วไป
เป็นกระบวนการทำงานที่เป็นเลิศที่ดำเนินการโดยคณะบุคคลที่เป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัยมหิดล โดยกลุ่มบุคคล (Team) อาจเป็น Team ตามหน่วยงานที่ระบุในโครงสร้างองค์กรของส่วนงานหรือเป็น Team งานเฉพาะกิจที่ถูกตั้งขึ้นมาเพื่อพันธกิจเฉพาะของส่วนงานก็ได้ และกระบวนการ (Process) ที่นำเสนอควรเป็นกระบวนการ (Process) หลักที่นำไปสู่วิสัยทัศน์ของ Team
ผลงานควรประกอบไปด้วย
ความสำคัญของปัญหา
ระบุสภาพปัญหาและมีการวิเคราะห์ปัญหา ใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์/ข้อมูลอ้างอิงชัดเจนมีความคิดริเริ่ม น่าสนใจและสมเหตุสมผล
วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
วัตถุประสงค์สอดคล้องกับประเด็นปัญหาที่พบ มีการกำหนดตัวชี้วัด (Leading KPI และ Lagging KPI ) ที่เหมาะสม สอดคล้องกับเป้าหมาย
กระบวนการพัฒนาเป็นทีม
แสดงการกำหนดเป้าหมาย ตอนการพัฒนาของทีมที่สอดคล้องกับทิศทางขององค์กร)
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
แสดงผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดก่อนและหลังการดำเนินงานการพัฒนา ซึ่งอาจแสดงแนวโน้มการพัฒนา หรือเทียบเคียงกับคู่เทียบหรือคู่แข่ง
การใช้ประโยชน์
แสดงการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งภายในส่วนงาน ภายในมหาวิทยาลัย หรือองค์กรอื่นภายนอกมหาวิทยาลัยหรือแสดงการดำเนินการจดทรัพย์สินทางปัญญา
ผลกระทบที่เกิดขึ้น
แสดงผลสำเร็จของทีมส่งผลกระทบต่อการปรับปรุงกระบวนการสนับสนุน/ระบบงานหลัก/ต่อผลลัพธ์หลักที่สำคัญหรือต่อการบรรลุวิสัยทัศน์ของส่วนงาน
Public Policy Advocacy Award
ข้อมูลทั่วไป
เป็นโครงการเพื่อชี้นำสังคมที่ประสบความสำเร็จ มีฐานคิดอย่างเป็นระบบจากงานวิจัยหรือวิชาการ สามารถเปลี่ยนมุมมองทัศนคติของสาธารณชน และ/หรือผู้มีอำนาจตัดสินใจเพื่อนำไปสู่การกำหนดนโยบายระดับประเทศ
ผลงานควรประกอบไปด้วย
ประเด็นชี้นำสังคม
เนื้อหาประเด็นการชี้นำสังคมตอบโจทย์ปัญหาสังคมและสอดรับกับสถานการณ์ปัจจุบัน และเชื่อมโยงกับการทำงาน/องค์กรของตนเอง ซึ่งมีการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลอย่างไร และสามารถแสดงให้เห็นถึงประโยชน์และความเป็นไปได้ที่สุดของการนำไปสู่การกำหนดนโยบายระดับชาติ
วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ของโครงการส่งผลกระทบอย่างไรต่อการเปลี่ยนแปลงของชุมชน/สังคม/ประเทศ อย่างไร
วิธีการดำเนินการ
มีกระบวนการดำเนินงาน แผนการดำเนินงานอย่างไร และกำหนดตัวชี้วัดรวมทั้งกลุ่มเป้าหมายอะไรบ้าง รวมทั้งได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐอย่างไร
ผลลัพธ์
ผลลัพธ์เป็นอย่างไร มีความสอดคล้อง/สะท้อนตามวัตถุประสงค์ของโครงการ และกระบวนการที่สามารถสร้างการเรียนรู้/ตระหนักรู้ และมีแนวทางที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงระดับชุมชน/สังคมอย่างไร
ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ประโยชน์ทีก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับชุมชน/ หน่วยงาน/ สถาบัน/ประเทศ อย่างไร
ข้อมูลทั่วไป
กระบวนการที่เป็นเลิศในด้านการเรียนการสอน ซึ่งเป็นรูปแบบหรือกระบวนการในการจัดการเรียนการสอน หรือการวัดและประเมินผล ที่ออกแบบใหม่ หรือปรับปรุงจากของเดิม โดยมีผลลัพธ์ให้เกิดการเรียนรู้ของผู้เรียน (Learning Outcome) ที่ดีขึ้น
ผลงานควรประกอบไปด้วย
ที่มาของปัญหาและวัตถุประสงค์
ระบุสภาพและมีการวิเคราะห์ปัญหา ใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์/ข้อมูลอ้างอิงชัดเจน)
วิธีการ design /redesign
กระบวนการเรียนรู้ ที่แสดง innovative teaching approach
แสดงแนวทางการ design /redesign กระบวนการเรียนรู้ สอดคล้องกับสาเหตุสำคัญของปัญหาและแสดงแนวคิดทฤษฏีทางการศึกษา และความคิดสร้างสรรค์นำไปสู่แนวคิดนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน (innovative teaching and learning approach) หรือการประเมินผลการจัดการเรียนการสอนรวมทั้งมีแผนดำเนินการแสดงกรอบระยะเวลาและวิธีปฏิบัติทุกขั้นตอน และมีการกำหนดตัวชี้วัดทั้ง leading & lagging Indicators
แผนการดำเนินกิจกรรม และตัวชี้วัด
มีแผนดำเนินการแสดงกรอบระยะเวลาและวิธีปฏิบัติทุกขั้นตอน มีการกำหนดตัวชี้วัดทั้ง leading & lagging Indicators และทำได้ตามแผน
ผลลัพธ์
มีการรายงานผลลัพธ์ การวัดผล ก่อนและหลังการดำเนินงานการพัฒนา ซึ่งอาจจะแสดงแนวโน้มการพัฒนาหรือผลลัพธ์เทียบเคียงกับคู่เทียบหรือคู่แข่ง
ผลกระทบที่เกิดขึ้น
แสดงผลลัพธ์ส่งผลกระทบต่อการปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนของรายวิชา/หลักสูตร หรือมีการขยายผลไปยังหลักสูตรอื่นของส่วนงาน
ข้อมูลทั่วไป
เป็นผลงานที่มีการคิดวิเคราะห์หาสาเหตุ และปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการทำงาน และนำสาเหตุหรือปัจจัยนั้นมาวางแผนปรับปรุง/พัฒนากระบวนการทำงาน โดยใช้หลักการของวงจรคุณภาพ (Plan-Do-Check-Act: PDCA) /หลักการวิจัย หรือสร้างสิ่งประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์ กระบวนการใหม่ โดยแสดงให้เห็นผลผลิต/ผลลัพธ์ที่ดีขึ้น/ผลลัพธ์ที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานมากขึ้น และนำไปสู่แนวทาง/ข้อสรุปเพื่อพัฒนาคุณภาพในระยะต่อไป
แบ่งออกเป็น 11 กลุ่มผลงาน 4 ระดับการพัฒนา คือ
กลุ่มผลงาน
งานทรัพยากรบุคคล
กระบวนการเรียนการสอน
การบริหารการศึกษา
การพัฒนานักศึกษา
การบริหารการวิจัย
การบริหารงานทั่วไป
การบริการวิชาการ
การบริการสุขภาพ
งานคลังและพัสดุ
Eco University
อื่น ๆ
ระดับการพัฒนาของผลงาน
การพัฒนาคุณภาพเริ่มต้น
Initial Quality Development (IQD)
การนําสาเหตุหรือปัจจัยนั้นมาวางแผนปรับปรุง/พัฒนา เพื่อพัฒนาให้สาเหตุและปัจจัยดังกล่าวเป็นกระทบในเชิงบวกที่เพิ่ม มากขึ้นในกระบวนการทํางาน
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
Continuous Quality Improvement (CQI)
การพัฒนาและดําเนินการ ปรับปรุงกระบวนการต่าง ๆ จนเกิดการหมุนของวงจร PDCA อย่างต่อเนื่อง มีการขยับเป้าหมายของผลงานขึ้นอย่าง ต่อเนื่องและสอดคล้องกับความเป็นไปได้
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
Routine to Research (R2R)
กระบวนการแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการอย่างเป็น ระบบของผู้ปฏิบัติงานประจําในการแก้ปัญหาและยกระดับการพัฒนางานที่รับผิดชอบดําเนินการอยู่ตามปกติ โดยมี ผลลัพธ์เป็นการพัฒนาตนเองและเพื่อนร่วมงาน อันส่งผลกระทบในการบรรลุเป้าประสงค์สูงสุดขององค์กร เป็นการทําให้ งานประจําเป็นงานสร้างความรู้ เป็นงานวิจัยได้ จะทําให้การทํางานให้มีคุณค่า ยิ่งทํางานนานยิ่งมีปัญญา ยิ่งเกิดความรู้ ยิ่งมีประเด็นที่น่าภาคภูมิใจได้มากขึ้นเรื่อย ๆ และเป็นการถ่ายทอดกระบวนการคิดที่เกิดจากการปฏิบัติงานจริง ออกมา เป็นความรู้สู่ผู้อื่น
นวัตกรรมในการพัฒนาคุณภาพ
Innovation in Quality Development (InQD)
การสร้าง/ออกแบบ/พัฒนา/ปรับปรุง สิ่งประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์ โปรแกรม บริการ วิธีการ ปฏิบัติกระบวนการ หรือประสิทธิภาพขององค์กร ที่แตกต่างจากเดิม หรือได้มาจากการคิดค้นวิธีการใหม่ๆ เพื่อใช้ แก้ปัญหา หรือปรับปรุงระบบงาน เพื่อให้การทํางานสะดวกขึ้น หรือได้ผลงานมากขึ้น หรือบรรลุเป้าหมายได้ดีขึ้น หรือใช้ ทรัพยากรได้น้อยลง หรือมีความเสี่ยงลดลง เป็นการสร้างคุณค่าใหม่ให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ลูกค้า พนักงาน สังคม และ คู่ค้า) บนพื้นฐานของการดํารงหรือยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติงานและคํานึงถึงความปลอดภัยเป็นสําคัญ โดยการนํา แนวคิด กระบวนการ เทคโนโลยี หรือผลิตภัณฑ์ ที่ทําให้เกิดสิ่งใหม่ หรือการใช้งานใหม่ พัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือแล้วว่า ได้ผลดีในทางปฏิบัติและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
Storytelling
ข้อมูลทั่วไป
เป็นเรื่องที่ปลุกเร้า สร้างพลัง ให้กำลังใจในการปฏิบัติงาน กับบุคลากรทุกประเภทของมหาวิทยาลัยมหิดล
กลุ่มผลงาน
งานทรัพยากรบุคคล
การจัดการความรู้
กระบวนการเรียนการสอน
การบริหารการศึกษา
การพัฒนานักศึกษา
การบริหารการวิจัย
การบริการทั่วไป
การบริการวิชาการ
การบริการสุขภาพ
งานคลังและพัสดุ
Eco University
รูปแบบการนำเสนอ
เล่าผ่านบทความ
เล่าผ่าน Clip สั้น
รางวัล
Team Good Practice Award
Innovative Teaching Award
Oral presentation
นำเสนอผลงาน ณ มหิดลสิทธาคาร
และ Mahidol University Digital KM Masterclass คัดเลือกให้ได้รับรางวัล
โล่ประกาศเกียรติคุณ
เกียรติบัตร
เงินรางวัล จำนวน 10,000 บาท
Public Policy Advocacy Award
นำเสนอผลงาน ณ มหิดลสิทธาคาร
และ Mahidol University Digital KM Masterclass
คัดเลือกให้ได้รับรางวัล
โล่ประกาศเกียรติคุณ
เกียรติบัตร
เงินรางวัล จำนวน 10,000 บาท
นำเสนอผลงาน ณ มหิดลสิทธาคาร
และ Mahidol University Digital KM Masterclass
คัดเลือกให้ได้รับรางวัล
โล่ประกาศเกียรติคุณ
เกียรติบัตร
เงินรางวัล จำนวน 10,000 บาท
นำเสนอผลงาน บน Mahidol University Digital KM Masterclass
ดีเด่น
(3 รางวัล)
เกียรติบัตร
เงินรางวัล จำนวน 5,000 บาท
ชมเชย
(9 รางวัล)
เกียรติบัตร
เงินรางวัล จำนวน 2,500 บาท
Poster presentation
นำเสนอผลงาน บน Mahidol University Digital KM Masterclass
ระดับการพัฒนาของผลงาน
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
Routine to Research (R2R)
นวัตกรรมในการพัฒนาคุณภาพ
Innovation in Quality Development (InQD)
ดีเด่น (5 รางวัล)
เกียรติบัตร
เงินรางวัล จำนวน 3,000 บาท
ชมเชย
(15 รางวัล)
เกียรติบัตร
เงินรางวัล จำนวน 1,500 บาท
นำเสนอผลงาน บน Mahidol University Digital KM Masterclass
ระดับการพัฒนาของผลงาน
การพัฒนาคุณภาพเริ่มต้น
Initial Quality Development (IQD)
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
Continuous Quality Improvement (CQI)
Popular Vote (1 รางวัล)
เกียรติบัตร
เงินรางวัล จำนวน 2,000 บาท
Storytelling
นำเสนอผลงาน ณ มหิดลสิทธาคาร
และ Mahidol University Digital KM Masterclass
ให้นำเสนอ
(4 รางวัล)
เกียรติบัตร
เงินรางวัล จำนวน 2,000 บาท
การนำเสนอในวันมหกรรม
ข้อพึงระวัง
ต้องลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อยืนยันการนำเสนอผลงานภายในวันที่ 20 ตุลาคม 2564
ผลงานของท่านจะถูกเผยแพร่บน "หนังสือรวบรวมผลงาน" และโปสเตอร์ของท่านจะถูกนำเสนอบน "Mahidol University Digital KM Masterclass " ในวันมหกรรม
การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด
การจัดทำเอกสารและสื่อนำเสนอ
Oral Presentation
Poster Presentation
Story Telling
โปรดสนใจ
ระยะเวลาในการนำเสนอผลงาน 10 นาที และช่วงตอบคำถาม 5 นาที
ไม่จำกัดเทคนิค กระบวนการ หรือโปรแกรมที่ใช้ในการนำเสนอ หากนำเสนอด้วยโปรแกรม Microsoft PowerPoint แนะนำอัตราส่วนที่แสดงผลได้ดีอยู่ที่ 16:9
นำไฟล์นำเสนอผลงาน มาบันทึกลงบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้จัดกิจกรรมในเวลา 7.00 น. ในวันที่ 24 พฤศจิกายน 2563
จัดพิมพ์ผลงานที่นำเสนอ (Handout) จำนวน 10 ชุด (ขนาด 4 Slide / 1 แผ่น) เพื่อมอบให้คณะกรรมการฯ ในวันมหกรรม
ผู้จัดกิจกรรม อำนวยความสะดวกเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในการนำเสนอ และขอสงวนสิทธิ์ไม่เชื่อมต่ออุปกรณ์ใด ๆ นอกเหนือที่ผู้จัดเตรียมไว้
เพื่อป้องกันปัญหาการเกิดปัญหากับฟ้อนต์ MS.ppt ผู้ส่งผลงานควร Embed font ให้แล้วเสร็จก่อนส่งผลงาน
ดูวิธีการ Embed font ได้ที่นี่
โปรดสนใจ
จัดทำผลงานในรูปแบบ Poster ขนาด 80 x 200 ซม. (ไม่จำกัดรูปแบบ-องค์ประกอบในการนำเสนอ)
เมื่อจัดทำเสร็จแล้ว ขอให้บันทึกและจัดส่งไฟล์ ในรูปแบบ .jpg และ .pdf บนระบบจัดส่งผลงาน
ในวันที่
1- 10 พฤศจิกายน 2563
ผู้จัดกิจกรรมให้บริการจัดพิมพ์ Poster หรือการแสดงผลในรูปแบบอื่น ๆ โดยที่เจ้าของผลงานไม่ต้องจัดพิมพ์ ไม่เสียค่าใช้จ่ายและนำมาติดตั้งเองแต่ประการใด
ตัวอย่างการจัดทำ Poster
(ไม่บังคับแต่ประการใด)
Poster Template (MS.PowerPoint)
Poster Template (AI)
MQF2020_Logo (JPG)
MQF2020_Logo (PNG)
โปรดสนใจ
ระยะเวลาในการนำเสนอผลงาน 10 นาที และช่วงตอบคำถาม 5 นาที
ไม่จำกัดเทคนิค กระบวนการ หรือโปรแกรมที่ใช้ในการนำเสนอ หากนำเสนอด้วยโปรแกรม Microsoft PowerPoint แนะนำอัตราส่วนที่แสดงผลได้ดีอยู่ที่ 16:9
เมื่อจัดทำเสร็จแล้ว ขอให้บันทึกและจัดส่งไฟล์ ในรูปแบบ .ppt หรือ .pptx บนระบบจัดส่งผลงาน
ในวันที่
1- 10 พฤศจิกายน 2563
ผู้จัดกิจกรรม อำนวยความสะดวกเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในการนำเสนอ และขอสงวนสิทธิ์ไม่เชื่อมต่ออุปกรณ์ใด ๆ นอกเหนือที่ผู้จัดเตรียมไว้
เพื่อป้องกันปัญหาการเกิดปัญหากับฟ้อนต์ MS.ppt ผู้ส่งผลงานควร Embed font ให้แล้วเสร็จก่อนส่งผลงาน
ดูวิธีการ Embed font ได้ที่นี่
แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน
เอกสารที่ต้องจัดส่งบนระบบ
ขนาดไฟล์ไม่เกิน 10 MB ในทุกประเภทเอกสาร/รายการ (ยกเว้นกลุ่มผลงาน Storytelling : เล่าผ่านคลิปสั้น ขนาดไม่เกิน 100 MB)
Team Good Practice Award
Innovative Teaching Award
Poster & Oral Presentation
ต้องมีหนังสือนำส่งจากส่วนงาน และ
หนังสือยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน
แนบพร้อมกับลงทะเบียนส่งผลงาน
โปรดติดต่องานพัฒนาคุณภาพ ของส่วนงานของท่าน
แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.doc/ .docx)
แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.pdf)
แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน (.pdf)
หนังสือนำส่งจากส่วนงาน (.pdf)
โปสเตอร์นำเสนอ ขนาด 80x200 cm. (.jpeg/ .jpg)
โปสเตอร์นำเสนอ ขนาด 80x200 cm. (.pdf)
Public Policy Advocacy Award
ต้องมีหนังสือนำส่งจากส่วนงาน และ
หนังสือยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน
แนบพร้อมกับลงทะเบียนส่งผลงาน
โปรดติดต่องานพัฒนาคุณภาพ ของส่วนงานของท่าน
แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.doc/ .docx)
แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.pdf)
แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน (.pdf)
หนังสือนำส่งจากส่วนงาน (.pdf)
โปสเตอร์นำเสนอ ขนาด 80x200 cm. (.jpeg/ .jpg)
โปสเตอร์นำเสนอ ขนาด 80x200 cm. (.pdf)
ต้องมีหนังสือนำส่งจากส่วนงาน และ
หนังสือยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน
แนบพร้อมกับลงทะเบียนส่งผลงาน
โปรดติดต่องานพัฒนาคุณภาพ ของส่วนงานของท่าน
แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.doc/ .docx)
แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.pdf)
แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน (.pdf)
หนังสือนำส่งจากส่วนงาน (.pdf)
โปสเตอร์นำเสนอ ขนาด 80x200 cm. (.jpeg/ .jpg)
โปสเตอร์นำเสนอ ขนาด 80x200 cm. (.pdf)
แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.doc/ .docx)
แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.pdf)
แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน (.pdf)
โปสเตอร์นำเสนอ ขนาด 80x200 cm. (.jpeg/ .jpg)
โปสเตอร์นำเสนอ ขนาด 80x200 cm. (.pdf)
Storytelling
รูปแบบเล่าผ่านบทความ
แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.doc/ .docx)
แบบฟอร์มการนำเสนอผลงาน (.pdf)
แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน (.pdf)
รูปแบบเล่าผ่าน Clip สั้น
ไฟล์ Clip สั้นไม่เกิน 7 นาที (.mp4)
แบบฟอร์มยินยอมให้เผยแพร่ผลงาน (.pdf)
ขอแสดงความยินดีกับผลงานที่ได้รับการคัดเลือกให้นำเสนอในวันมหกรรม
Team Good Practice Award/ Innovative Teaching Award/ Public Policy Advocacy Award/
Oral Presentation และ Storytelling
New.NO.
Ref. NO
ชื่อผลงาน - หน่วยงาน
ประเภท
ผู้นำเสนอผลงาน
รางวัล
Poster presentation
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย Routine to Research (R2R) และ
นวัตกรรมในการพัฒนาคุณภาพ Innovation in Quality Development (InQD)
การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด
ผลงานของท่านจะถูกเผยแพร่บน "หนังสือรวบรวมผลงาน" และโปสเตอร์ของท่านจะถูกนำเสนอบน "Mahidol University Digital KM Masterclass " ในวันมหกรรม
New.NO.
Ref. NO
ชื่อผลงาน - หน่วยงาน
ประเภท
ผู้นำเสนอผลงาน
รางวัล
Poster presentation
การพัฒนาคุณภาพเริ่มต้น Initial Quality Development (IQD) และ
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง Continuous Quality Improvement (CQI)
การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด
โปสเตอร์ของท่านจะถูกนำเสนอบน "Mahidol University Digital KM Masterclass " ในวันมหกรรม
New.NO.
Ref. NO
ชื่อผลงาน - หน่วยงาน
ประเภท
ผู้นำเสนอผลงาน
รางวัล
ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม
การจัดกิจกรรมในวันมหกรรมตามมาตรการเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยจัดกิจกรรมรูปแบบออนไลน์ ทั้งในการนำเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ และด้วยวาจา
ลำดับ
เวลา
ชื่อ-สกุล
ส่วนงาน / สังกัด
หากมีข้อสงสัย หรือต้องการความช่วยเหลือ สามารถติดต่อเราได้ที่
สอบถาม ขอความช่วยเหลือ ผ่าน Line @ Official
http://nav.cx/emITFlD คลิกเลย
----------------------------------------------------------------
นายปิยะณัฐ พรมสาร นักวิชาการพัฒนาคุณภาพ (ผู้ชำนาญการพิเศษ)
น.ส.ณัฐธิดา เถื่อนหรุ่น นักวิชาการพัฒนาคุณภาพ
email address: mahidolqd@mahidol.edu
ระหว่างเวลา 9.00 - 16.00 น. ในวันทำการ
หรือที่ Facebook Fanpage: facebook.com/MahidolQD/
----------------------------------------------------------------
สำนักงานโครงการมหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
กองพัฒนาคุณภาพ ชั้น 3 อาคารสำนักงานอธิการบดี ศาลายา
มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
โทร 0 2849 6062 - 4, 0 2849 6065 โทรสาร 0 2849 6061
Website: https://op.mahidol.ac.th/qd/
----------------------------------------------------------------
แผนที่การเดินทาง ในรูปแบบ Portable Document Format (PDF)